กลับ​มาแล้ว​ เรื่อง​ ป.ปลา​
ปลา​กด​เหลือง​
ปลา​ธรรมชาติ​
ลักษณะ​ทั่วไป
เป็น​ปลา​น้ำจืด​ไม่​มี​เกล็ด​ ลำ​ตัว​กลม​ยาว​หัว​ค่อนข้าง​แบน​เรียว​เป็น​รูป​กรวยกระ​ดูกท้าย​ทอย​ยาว​ถึง​โคน​ครีบ​หลัง​ ปาก​กว้าง​ขา​กรร​ไก​รแข็งแรง​ มีฟันชี่เล็ก​ๆ​ สั้น​ปลาย​แหลม​เป็น​กลุ่ม​ หรือ​เป็น​แผ่น​บน​ขา​กรรไกร​ล่าง​และ​บน​เพดาน​ปาก​ซี่​กรอง​สั้น​เล็ก​ปลาย​แหลม​มี​ 15​ ซี​ มี​หนวด​ 4 คู่​ คือ​ บริเวณจมูก​ ริม​ฝี​ปาก​บน​และ​ล่าง​ และ​ใต้​คาง​อย่าง​ละ​ 1​ คู่​ ซึ่ง​ ครีบ​หลัง​ไม่​สูง​เป็น​ครีบเดียว​อยู่​กลาง​หลัง​ยาว​ไม่​ถึง​ครีบไขมัน​โดยพบก้าน​ครีบ​แข็ง​ 1​ ก้าน​ และก้าน​ครีบ​อ่อน​ 7 ก้าน​ ครีบ​ไขมัน​เจริญ​ดีมี​สี​คล้ำหรือ​ดำแตกต่าง​จาก​สี​ของ​ลำ​ตัว​ อยู่​บน​หลัง​ตาม​ส่วน​ท้าย​ของ​ลำ​ตัว​ และ​อยู่​ตรง​ข้าม​กับ​ครีบ​ก้น​มี​ก้าน​ครีบ​อ่อน​ 10-11 ก้าน​ ครีบ​หู​เป็น​ครีบ​คู่​อยู่​หลัง​บริเวณ​เหงือก​มี​เงี่ยง​แข็ง​และ​แหลม​คม​ 1​ คู่​ มี​ก้าน​ครีบ​อ่อน​ข้าง​ละ​ 9 ก้าน​ ครีบ​ท้อง​มี​ก้าน​ครีบ​อ่อน​ 6-7 ก้าน​ ครีบ​หาง​เว้า​ลึก​แฉกบน​ยาว​กว่า​แฉก​ล่าง​ประกอบ​ด้าน​ก้าน​ครีบ​อ่อน​ 16-17 ก้าน​ ลักษณะ​สี​ของ​ลำตัว​จะเปลี่ยนไป​ตาม​อายุ​ขนาด​ และ​แหล่งที่อยู่​อาศัย​
การ​ใช้​ประโยชน์
บริโภค​การ​ปรุง​สด​ รมควัน​ปลา​แห้ง​
แหล่ง​ที่​อยู่​อาศัย​และ​การ​กระ​จาย​พันธุ์
อาศัย​ใน​แหล่ง​นำ้นิ่ง​ และ​แม่​นำ้ของ​ทุก​ภาค​ ยกเว้น​แม่​นำ้สาละวิน
ปลาแขยง​ใบ​ข้าว​
ลักษณะ​ทั่วไป
ลักษณะ​ของ​แขยง​ใบ​ข้าว​ เป็น​ปลา​แขยง​ขนาด​กลาง​มี​ความ​ยาว​เฉลี่ย​ประมาณ​ 20​ ชม.สามารถ​เลี้ยง​ใน​ตู้​ร่วม​กับ​ปลา​ไม่​มาก​เกล็ด​ชนิด​อื่น​ที่​มี​ขนาด​ใกล้​เคียง​กัน​ จัด​ตู้​โดย​วาง​วัสดุ​ตกแต่ง​ประเภท​ก้อน​หิน​หรือ​ขอนไม้​ เพื่อ​ให้​มี​ที่​หลบซ่อน​ลักษณะ​มี​บำตัว​ค่อนข้าง​กลม​และ​ยาว​แบน​ข้าง​เล็กน้อย​ หลัง​โค้ง​ หัว​ค่อนข้าง​เล็ก​ ปาก​ทู่​ มี​หนวด​4​คู่​ เฉพาะ​คู่แข่ง​ที่​ริมฝีปาก​ยาว​จรด​โคนหาง​ ครีบ​ไขมัน​ยาว​ถึง​โคน​ครีบ​หลัง​ หาง​เป็น​แฉก​ลึก​ แฉก​บน​ยาว​กว่า​แฉก​ล่าง​พื้น​ลำ​ตัว​สี​เหลือง​อ่อน​อม​เทา​หรือ​เขียว​มะกอก​ ส่วน​ท้อง​สี​จาง​
การ​ใช้​ประโยชน์
แกง​หรือ​หมก​ใบ​ตอง​ร่วม​กับ​ปลา​ชนิด​อื่น​ๆไม่​นิยม​นำ​มา​ปิ้ง​ย่าง​ เนื่องจาก​ส่วนใหญ่​จะ​พบ​ตัว​ไม่​ค่อย​ใหญ่​นัก​
แหล่ง​ที่​อยู่​อาศัย​และ​การ​กระ​จาย​พันธุ์
อาศัย​ใน​แหล่ง​น​ำ​้นิ่ง​และ​แม่​น​ำ​้​พบ​ทั่วไป​ทุก​ภาค​
ฝาก​ๆข้อ​ความ​ดีๆนิดนึง
#บ้านนี้ลูกไข้มาสองสามวัน มีคนเฒ่าคนแก่บอกให้ลองเช็คตัวหรือเอามาอาบน้ำกับใบสาบเสือ ขยี้ส่วนใบ+ดอก ถ้ามีดอกลงในน้ำ ปรากฎได้ผล ลองเอาไปใช้ดูน่ะคะ ก่อนทำล้างใบให้สะอาด มีสรรพคุณหลายอย่าง👇👇👇
#สรรพคุณสาบเสือ #กาปาตูแบต-ช่วยดูดหนอง (ต้น)
-สารสกัดจากกิ่งและใบมีสารที่ช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus aureus และ Bacillus subtilis ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดหนอง (ใบ)
-ช่วยแก้พิษน้ำเหลือง (ใบ)
-ช่วยถอนพิษแก้อักเสบ (ใบ)
-ใบใช้ในการห้ามเลือด ด้วยการใช้ใบนำมาโขลกและขยี้ แล้วนำมาพอกบริเวณบาดแผล ก็จะช่วยห้ามเลือดได้เป็นอย่างดี เพราะสาบเสือมีสารสำคัญหลายอย่างที่มีฤทธิ์ทำให้เส้นเลือดหดตัว และไปช่วยกระตุ้นสารที่ทำให้เลือดแข็งตัวได้เร็วยิ่งขึ้น แต่อาจจะแสบมาก ๆ แต่เมื่อแผลหายแล้วจะช่วยป้องกันแผลเป็นได้อีกด้วย (ใบ)
-ใช้สมานแผล ช่วยป้องกันการเกิดรอยแผลเป็น (ใบ)
-ช่วยรักษาแผลเปื่อย (ใบ)
-ทั้งต้นของสาบเสือ ใช้เป็นยาแก้บาดทะยัก (ทั้งต้น)
-ใบสาบเสือ มีสารที่ช่วยยับยั้งการงอกและชะลอการเจริญเติบโตของพืชอื่น ๆ (ใบ)
#ปล.แม่บ้านนี้ใช้ใบมาขยี้ในน้ำ แล้วนำมาอาบหรือเช็ดตัว ใช้ลดไข้และเวลาลูกมีผืนคันตามตัว จะช่วยได้ดีมากๆ (ล้างใบให้สะอาดก่อนนำมาขยี้ในน้ำ)
โฆษณา