23 ก.พ. 2020 เวลา 05:00 • ธุรกิจ
ก่อนมื้อเที่ยงฝากนิดนึง
กับการทำคาร์บอนเครดิต...ธุรกิจบนความหายนะ
ทั่วโลกกำลังเร่งดำเนินตามเงื่อนไขพิธีสารเกียวโต เพื่อแก้ปัญหาที่ประสบกับภาวะโลกร้อน โดยสาระสำคัญของพิธีสารเกียวโตมีเป้าหมายสูงสุดในการรักษาระดับความเข้มข้นของก๊าซเรือนกระจกในบรรยากาศให้อยู่ในระดับที่ไม่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงทางอาหารและการพัฒนาเศรษฐกิจที่ยั่งยืนของมนุษยชาติ กำหนดให้ประเทศที่พัฒนาแล้วต้องลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกก่อน ส่วนประเทศกำลังพัฒนามีสิทธิที่จะปล่อยก๊าซเรือนกระจกเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในประเทศให้อยู่ในระดับที่พอใจได้
จากพันธกรณีตามข้อตกลงในพิธีสารเกียวโตดังกล่าว ประเทศพัฒนาแล้วต้องลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้ต่ำกว่าระดับก๊าซที่ปล่อยเมื่อ พ.ศ. 2533 โดยเฉลี่ยร้อยละ 5 ซึ่งหากภาคีสมาชิกใดไม่สามารถดำเนินการได้ตามข้อกำหนดจะมีบทปรับ โดยในสหภาพยุโรปมีค่าปรับถึงตันละ 40 ยูโร ตามแผนการลดมลพิษในระยะที่ 1 (พ.ศ. 2548-2550) และเพิ่มค่าปรับเป็นตันละ 100 ยูโร ตามแผนในระยะที่ 2 (พ.ศ. 2551-2555) หลังจากที่พิธีสารเกียวโตมีผลบังคับใช้ไปเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน ประเทศที่พัฒนาแล้วไม่สามารถปฏิบัติได้ตามข้อกำหนด จึงก่อให้เกิดธุรกิจการซื้อขายคาร์บอนเครดิตกับประเทศที่กำลังพัฒนา เพราะค่าใช้จ่ายที่ลงทุนไปกับการรับซื้อนั้นต่ำกว่าการชำระค่าปรับหลายเท่าตัว
การซื้อขายคาร์บอนเครดิต จัดทำขึ้นในตลาดเฉพาะที่เรียกว่า ตลาดคาร์บอน โดยผู้รับซื้อแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่
1. Annex I Government
2. Carbon Fund
3. Carbon Broker
ผู้ซื้อประเภท Annex I Government เป็นการรับซื้อของหน่วยงานรัฐบาลของประเทศกลุ่มภาคี Annex I หรือกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว ที่มีหน้าที่ในการจัดหาคาร์บอนเครดิตเพื่อให้ประเทศของตนบรรลุถึงพันธกรณีในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยรัฐบาลจะเป็นผู้จัดสรรงบประมาณผ่านหน่วยงานที่รับผิดชอบไปดำเนินการ เช่น รัฐบาลของประเทศอังกฤษมอบหมายให้ Department for Environment, Food and Rural Affairs มีหน้าที่จัดหาคาร์บอนเครดิต เป็นต้น
ผู้ซื้อประเภท Carbon Fund เป็นผู้บริหารกองทุนที่รวบรวมมาจากการรวมตัวกันของรัฐบาลหรือกลุ่มบริษัทเอกชนที่ต้องการปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ลดได้ เช่น ธนาคารโลก ที่เป็นผู้จัดการกองทุน Prototype Carbon Fund, Community Development Carbon Fun เป็นต้น
ผู้ซื้อประเภท Carbon Broker มีนายหน้าที่ทำหน้าที่รับซื้อคาร์บอนเครดิต แล้วนำไปขายให้กับบริษัทเอกชนหรือรัฐบาลของประเทศในกลุ่มภาคี Annex I โดยมีลักษณะการทำงานคล้ายกับ Broker ของตลาดหุ้น เช่น Asia Carbon Exchange ของประเทศสิงคโปร์
ถ้าพิจารณาเนื้อหาสาระของพิธีสารเกียวโต แล้วจะเห็นว่ามีช่องโหว่ที่เกิดขึ้น ตรงที่ประเทศที่พัฒนาแล้วก็ยังคงสามารถปล่อยก๊าซเรือนกระจกในอัตราเท่าไรก็ได้ ตราบที่ยังมีกำลังเงินลงทุนโครงการลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก หรือซื้อคาร์บอนเครดิตจากประเทศกำลังพัฒนา แลัวนำมาหักลบจากเป้าหมายในปี 2555 ที่ตั้งไว้เพื่อให้เป็นไปตามข้อบังคับของพิธีสารฯ และเป็นที่มาของการแสวงหาผลประโยชน์จากการขายคาร์บอนเครดิต ซึ่งเติบโตขึ้นโดยไม่ได้นึกถึงสภาพแวดล้อมจะเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรือไม่ และพิธีสารเกียวโต จะมีประโยชน์อันใด
ขอบคุณแหล่งที่มาความรู้ครับ🤔🤔🤔💻💻💻💻
สรุปความจาก พรรณทิพย์ ตั้งปรียารักษ์. คาร์บอนเครดิต...ธุรกิจบนความหายนะ ตอนที่ 2 ธุรกิจใหม่...กู้โลกหรือเร่งทำลาย. Lab.Today 6, 43 (ต.ค. 50) : 46-48.
R&D สู่สังคม
หน้าแรก
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
งานวิจัย/พัฒนา สวทช.
โครงการวิจัยที่ใช้งบประมาณของรัฐในส่วนที่ สวทช. ดำเนินการ
ทุนวิจัย
ทุนการศึกษาของสวทช.
สิทธิบัตร
ผลงานพร้อมถ่ายทอดของ สวทช.
สารสนเทศวิเคราะห์
โครงการตามพระราชดำริฯ
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ
บริการความรู้
ข้อมูลอุตสาหกรรม
คลังความรู้
e-Book
e-Magazine
เด็กวิทย์สนุกคิด
คลังเอกสาร
คลังภาพ
คลังวีดีโอ
OSS & Freeware
NSTDA Infographics
สวทช.
แผนและผลการดำเนินงาน สวทช.
แผนกลยุทธ์ สวทช.
รายงานประจำปี สวทช.
รายงานผู้สอบบัญชีและงบการเงิน สวทช.
การกำกับดูแลกิจการที่ดี
จริยธรรมการวิจัย
กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ
ผู้บริหาร สวทช.
จดหมายข่าว
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวสวทช. ในสื่อสาธารณะ
ร่วมงานกับสวทช.
รับสมัครนักศึกษาฝึกงาน
ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
เครือข่ายสังคม
การฝึกอบรมของสวทช.
NSTDA Eduroam
บัญชีนวัตกรรมไทยและสิ่งประดิษฐ์ไทย
อพ.สธ. - สวทช.
MTEC
BIOTEC
NECTEC
NANOTEC
tsp
AIMI
nctc
ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อความมั่นคงของประเทศและการประยุกต์เชิงพาณิชย์ (Logo of National Security and Dual-Use Technology Center: NSD)
ฐานข้อมูลหน่วยงานภาครัฐ
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
เป็นหน่วยงานของรัฐที่จัดตั้งขึ้นเพื่อศึกษาวิจัยและพัฒนาทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาประเทศไทย ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไร
หากท่านพบว่ามีข้อมูลใดๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ของสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุดต่อไป
 
You are here: Homeคลังความรู้คาร์บอนเครดิต...ธุรกิจบนความหายนะ
คลังศัพท์ไทย
ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ไทย
คลังสื่อออนไลน์
คลังบทเรียนออนไลน์
โครงสร้างพื้นฐานทางคุณภาพของประเทศ
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี
iTAP
CPMO
โปรแกรมโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ฯ
ทุนวิจัยแกนนำ
ฝ่ายพัฒนาคุณภาพการวิจัย
JSTP
YSTP
TAIST-Tokyo Tech
TGIST
NUI-RC
บ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร
Desy Summer Student program
การประชุมผู้ได้รับรางวัลโนเบล
JAXA
ชุมชนวิทยาศาสตร์
NSTDA Tube
NSTDA@Facebook
NSTDA@Twitter
Science to Public
สาระวิทย์
NSTDACHANNEL
official line qr
Terms of Service | Privacy Policy
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
อ่านแล้วนึกถึงเพลงนี้เลย
สาระวันอาทิตย์....รับขนมจีบซาลาเปาเพิ่มไหมครับ😁😁😁😁
โฆษณา