13 ก.ค. 2020 เวลา 14:10 • ยานยนต์
จากบริษัทผลิตเครื่องบินสู่บริษัทการผลิตรถยนต์เจ้าสนามแรลลี่ อย่างแบรนด์ Subaru เป็นยังไงเดี๋ยวผมมาเล่าให้ฟัง
ซึ่งก็ต้องบอกว่าคู่ปรับตลอดกาลของ mitsubishui evo ในการแข่งรายการดังระดับโลกอย่าง WRC world rally championship
เราจะเห็นคู่แข่งที่สูสีกันมาตลอดนั่นก็คือ แบรนด์Sabaru นั่นเองครับ
ซึ่งแบรนด์Sabaru ถือได้ว่ากำเนิดมาจากสนามแข่งแรลลี่กันเลยทีเดียว
ทำให้คนจดจำลักษณะภายนอกนั่นก็คือรถสีน้ำเงิน ล้อแม็กซ์สีทอง สมรรถภาพดีพอที่จะแข่งคู่กับmitsubishui evoกันเลยทีเดียว
ต้นกำเนิดของแบรนด์Sabaru มีที่มาอย่างไร?
ย้อนกลับไปในสมัยสงครามโลกครั้งที่2 เดิมทีบริษัทมีชื่อว่าAir craft ซึ่งธุรกิจก็คือผลิตเรื่องบินให้กับจักวรรดิญี่ปุ่นเพื่อใช้ในการรบ
หลังจากที่สมครามโลกครั้งที่2ใกล้จบ ก็ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น บ.ฟูจิ ซังเงียว แล้วก็ได้เปลี่ยนประเภทธุรกิจมาขายสกูตเตอร์ขายให้กับทางกองทัพ
ซึ่งชื่อรุ่นก็คือ Fuji Rabbit
ต่อมาในปี1950 บ.ฟูจิ ซังเงียวก็ได้แตกออกเป็น 12บริษัทย่อย ชิ้นส่วนขายให้กับกองทัพ
พอในปี1953 5ใน12บริษัท ก็ประกาศออกมาว่าอยากที่จะทำรถยนต์และหาแนวร่วมนำเอาบริษัทย่อยๆมารวมกัน
แล้วเปิดเป็น บ.ฟูจิ เฮฟวี่ อินดัสทรี ซึ่งในตอนนั้นเองญี่ปุ่น ก็อยู่ในช่วงที่ย่ำแย่มากๆเนื่องจากพึ่งจบสงคราม
ประธานบริหารของ บ.ฟูจิ เฮฟวี่ อินดัสทรี มีวิสัยทัศน์แล้วก็ได้คาดการณ์ไว้ว่า อีกหน่อยรถยนต์จะเป็นที่ต้องการ.
ก็เลยตัดสินใจที่จะผลิตรถยนต์ ภายใต้โครงการ P-1 ซึ่งเป็นรถยนต์โดยสารขนาดเล็ก
พอเริ่มสร้างก็เลยเริ่มคิดชื่อรุ่นจนได้กลายมาเป็นSabaru รถที่ออกมาคันแรกจึงได้ชื่อว่า Subaru 1500
เพราะมาจากเครื่อง1500cc ซึ่งครั้งแรกที่เปิดตัวไป ก็ยอดขายไม่ค่อยดีนัก ทำให้subaru ต้องทำการบ้านตีโจทย์ใหม่
จึงเริ่มแก้ปัญหา โดยเริ่มทำให้มันราคาถูกขึ้น ทำให้คนจับต้องได้ เนื่องจากตอนนั้นกำลังเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ทำให้คนไม่มีกำลังพอซื้อขนาดนั้น
จึงตัดสินใจเริ่มทำรถยนต์ขนาดเล็กออกมา เป็นตัวsubaru 360 ในปี1958 ต้องบอกว่ารุ่นนี้ใช่ความรู้จากเครื่องบิน มาใช้ในรุ่นนี้ด้วย
ซึ่งผลตอบรับก็ดีมากๆเช่นกัน เนื่องจากราคาที่ถูก แข็งแรง สมรรถนะดีมากๆ ทำให้คนแห่กันซื้อในยุคนั้น ถือได้ว่าเป็นรุ่นที่แจ้งเกิดของSubaru เลยทีเดียว
แล้วในปี1961 ก็ได้เริ่มทำรถบรรทุกขนาดเล็กออกมาชื่อ Subaru Sambar ซึ่งเหมาะกับเส้นทางของประเทศญี่ปุ่นตอนนั้นพอดี
แล้วในปี1966 ก็เป็นจุดเปลี่ยนของSubaru หลังจากเปิดตัวรถรุ่นนึงที่มีชื่อว่า Subaru 1000 ซึ่งคัวนี้มีความพิเศษคือใช้เครื่องยนต์Boxer
ซึ่งก็เป็นเอกลักษณ์Subaruมาถึงทุกวันนี้
แล้วเครื่องยนต์Boxerมันดียังไง
เครื่องยนต์Boxer เป็นเครื่องยนต์สูบนอน ซึ่งปกติส่วนใหญ่จะเป็นเครื่องยนต์แบบตั้งซึ่งข้อดีของBoxer ก็คือ 1.ทำให้จุดส่วนถ่วงของรถต่ำ 2.ความBalance 3.การสั่นทะเทือน 4.มีประสิทธิภาพในการส่งกำลังไปในส่วนต่างๆได้ดี
5.ซึ่งข้อสุดท้ายก็คือน้ำหนักที่เบากว่าเครื่องยนต์อื่นๆ ทำให้ขับเคลื่อนได้ดีขึ้น ซึ่งก็เป็นที่ยอมรับของคนทั้งโลก ในเรื่องสมรรถนะของเครื่องยนต์ ขายดีมากๆจนขายดีไปแล้วกว่า 16ล้านเครื่อง ซึ่งเยอะมากๆ
ซึ่งหลังจากที่ได้คิดเครื่องยนต์Boxer ออกมา รถทุกรุ่นที่ออกมาก็เป็นBoxerทั้งหมด ถือเป็นเอกลักษณ์ทีเดีบว
และในปี1988 ก็เกิดเหตุการณ์ไม่คาดคิดขึ้น ได้มีการประกาศออกมาว่า แบรนด์ที่ผลิตรถยนต์ในญี่ปุ่นต้องมาร่วมมือกัน เพราะจะผลักดันให้ไปแข่งขันระดับโลกให้ได้
ทำให้เกิดการร่วมมือกัน ของแบรนด์ต่างๆ ซึ่งตอนนั้นเองNissanก็ได้เข้ามา เข้าซื้อหุ้นของบริษัทFHI ซี่งก็ทำให้เกิดการแลกKnow-howกัน
ซึ่งตอนนั้น Nissanเองก็เก่งเรื่องเครื่องยนต์ Disel ซึ่งก็ได้ทำออกมาเป็นรถบัส
ต่อมาSubaruเองก็ได้ร่วมมือกับNissan จนในปี1989 ก็ได้ออกรถรุ่นนีงออกมาชื่อ Legac
และในปี1993 ก็ได้รถอีกรุ่นออกมา มีชื่อว่า Impreza เป็นรุ่นที่มีคนรู้จักทั้งโลก แม้กระทั่งตัวWRX ด้วยก็ตาม
และในปี1997 ก็ได้ออกมาเป็นรุ่น Forester หลังจากนั้นไม่นานก็ได้เกิดการขาดสภาพคล่อง
ทำให้ขายให้กับบริษัทReno ทำให้Take Nissan ไปอย่างเต็มรูปแบบ และขายหุ่น Subaru ให้กับค่ายGm ซึ่งเป็นค่ายยักษ์ของอเมริกา
ก็เลยทำให้เกิดโปรเจคระหว่างGmกับSubaru ขึ้นมีชื่อว่า Subaru Baja
ซึ่งในปี2003 ก็ได้สร้างรถยนต์อีกตัวนึงขึ้นมาชื่อว่า Subaru Tribeca ซึ่งทั้ง2รุ่นขายในอเมริกาเท่านั้น
ซึ่งในปีเดียวกันไม่นานทางGm ก็ได้มีการขายหุ้นบางส่วนกว่า40% ของSubaru ให้กับToyota ทำให้Subaru ก็ได้ร่วมมือกับToyota
และสร้างรถรุ่นนึงขึ้นมาในปี2008 มีชื่อว่า Subaru BRZ และก็ Toyata 86 ซึ่งหน้าตาเหมือนกันมากๆต่างกันแค่กันชนเท่านั้นน
และรุ่นที่ทำให้Subaru ดังไปทั่วโลกก็คือ ตัวSubaru Impressa และก็ได้นำมาแข่งในแรลลี่แชมเปี้ยนชิป
และก็ได้เป็นเบอร์ต้นๆกันเลยทีเดียว
ซึ่งSubaru ถือว่าจะทำมาได้นานกว่า40ปี แต่ก็ยังคงรักษาเอกลักษณ์ของความเป็นSubaru ได้จากKnow-how เครื่องบินสู่Know-how รถยนต์
ขอบคุณที่อ่านมาถึงตรงนี้นะครับ ถ้าชอบก็ฝากกดไลค์ กดแชร์กันด้วยนะครับ
โฆษณา