27 ต.ค. 2020 เวลา 05:16 • หนังสือ
"ไม่ยากหรอกที่จะนึกภาพว่าทำไม สัญญาประชาคมจึงทำให้ผู้มีอำนาจในเจนิวาโกรธ ในทางทฤษฎีนครนี้เป็นสาธารณรัฐ และสัญญาประชาคมก็เป็นหนังสือที่ชื่นชอบรัฐบาลแบบสาธารณรัฐอย่างเข้มข้น แต่ในทางปฏิบัติเจนิวาเป็นการปกครองของชนชั้นสูงที่สูงอายุ (gerontocracy) ตกอยู่ใต้อิทธิพลของสองสามครอบครัว นับว่าเป็นตัวอย่างที่รุสโซ่วิจารณ์ว่าเป็นรูปแบบของโครงสร้างที่เลวร้ายที่สุด ว่าอำนาจอธิปไตยถูกส่งผ่านจากประชาชน ไปสู่มือของอภิชนาธิปไตยแบบสืบทอดให้ทายาท (hereditary aristocracy)"
อ้างอิง:
สมบูรณ์ ศุภศิลป์. (2563). คำนำของผู้แปล, ใน รุสโซ่ ฌอง-ฌาคส์, สัญญาประชาคม หรือหลักสิทธิแห่งการเมือง [The Social Contract or Principles of Political Right] (สมบูรณ์ ศุภศิลป์, แปล). นนทบุรี: ภาพพิมพ์.
โฆษณา