7 ก.ย. 2022 เวลา 09:42 • หุ้น & เศรษฐกิจ
PRINC
เดิมทำธุรกิจ Property development หลังจากนั้นปี 2556 ตระกูลวิทยากร ผู้ก่อตั้ง BDMS เข้ามาถือหุ้นใหญ่
ปี 2560 ปรับเปลี่ยนโครงสร้างธุรกิจ ประกอบธุรกิจ
1. Hospital business 95%
เน้นจังหวัดที่การบริการด้านการแพทย์ยังเข้าไปไม่ทั่วถึง หรือมีโรงพยาบาลจำนวนน้อย เพื่อช่วยเหลือภาครัฐในการรองรับความต้องการด้านบริการทางการแพทย์ ตอบโจทย์ผู้ป่วยรายได้ปานกลาง
2.Property 5% มีแผนจะ divestment
Marriot สาธร 186 ห้อง
Somerset 262 ห้อง
BBC เป็น office ให้เช่า พื้นที่ 16,277 Sq.m
1.Hospital Business
Healthcareให้การบริการผู้ป่วย ทั้ง 3 ระดับได้แก่
Primary: คลินิกใกล้บ้านใกล้ใจ เริ่ม 2020 ตั้งเป้า 100 คลินิก ( งบลงทุน 1-2 ลบ. )
Secondary : การลงทุนมี 2 รูปแบบ
1.Greenfield สร้างโรงพยาบาลใหม่/ปรับปรุงรพ.ทีผลการดำเนินงานไม่ดี งบลุงทุน 300-400 ลบ.
ปีที่เริ่มเปิดบริการ
2019: พิษณุเวช อุตรดิตถ์ /Princ อุทัยธานี
2021: Princ ลำพูน/ศรีษะเกษ
หมายเหตุ ธุรกิจโรงพยาบาลมีค่าใช้จ่ายที่สูง ประมาณการ 3 ปี EBIT กำไร 5 ปี NPM กำไร ( อ้างอิง: ผู้ถือหุ้นใหญ่ )
2.Partner กับรพ.ท้องถิ่น
2017 : พิษณุเวช / Princ ปากน้ำโพ/ พิษณุเวช พิจิตร/ Princ สุวรรณภูมิ
2020 : Virajslip Hospital / Princ อุบลราชธานี
Tertiary care : พัฒนา รพ.ที่มีศักยภาพ เช่น prince สุวรรณภูมิ พิษณุเวช
ปี 2565 จำนวนโรงพยาบาลทั้งหมด 13 โรงพยาบาล
จำนวนเตียง 1,210 เตียง
Outlook 2568 เพิ่มเป็น 20 โรงพยาบาล 2,500 เตียง
ขนาดรพ.ที่ขยายขนาด 59 เตียง ใช้เวลาสร้างประมาณ 1 ปี
บุคลากรทางการแพทย์
Full time doctor 175 คน
Part time doctor 880 คน
Nurse 1,769 คน
ธุรกิจการแพทย์อื่นๆ
2020 ร่วมทุนผิวดีคลินิกจุดเด่น บริการโดยแพทย์ผิวหนังเฉพาะทาง ถือหุ้น 55% ใช้เงินลงทุนประมาณ 200 ลบ. แพลนขยายสาขา
ธุรกิจ elderly care businessร่วมกับ NK group เพื่อดูแลผู้ป่วยสูงอายุ
Outlook in 5 year
top 5 in healthcare
มี platform เป็นของตนเอง
มีmanagement fee (รับจ้างบริหาร)
ข้อมูลทางการเงิน
Revenue contribution by patient type
H1’22 IPD 38% OPD 62%
Patient Revenue by payors
H1’22 Selfpay 40% , Govt 25%,Insurance 22%,Contact 13%
Government สูงขึ้น 3%-> 25% จากผู้ป่วย Covid
ทุนจดทะเบียน4,188 ลบ ชำระแล้ว 3,808 ลบ.
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่
1.กลุ่มวิทยากร 67% 2.บ.ราช กรุ๊ป 10% 3.IFC เริ่มเป็น strategic partner 2019 5.84%
หุ้น free float 11.83% แพลนเพิ่มเป็น 15%
แผนการเพิ่มทุน มีการเพิ่มทุนมาตั้งแต่ปี 62 ล่าสุด opp day Q2 ยังแจ้งว่าจะมีการเพิ่มทุนแบบ PP ประมาณ 10% ของทุนจดทะเบียน
กำไร NPM
ปี 62 -181.72 ลบ.
ปี 63 -511.69 ลบ.
ปี 64 79.38 ลบ.
ปี 65 555.67 ลบ. (ครึ่งปี)
มีหักค่าเสื่อมประมาณปีละ 300 ลบ.
Q2 รายได้จากผู้ป่วย Covid น้อยลง
กระแสเงินสดจากการดำเนินงาน
H2 65 -13.6 ลบ. แต่เป็นแนวโน้มที่ดีขึ้น
หลักๆมาจากภาระดอกเบี้ย 62.5 ลบ. ลูกหนี้ 355 ลบ.(น่าจะจาก โครงการ Covid ที่ค้างชำระ)
Revenue และ EBITDA ก่อน Covid มีแนวโน้มดีขึ้นเล็กน้อย มีปี 2020 มีสะดุดไปบ้างหลังนั้นปี 21 โตได้ดี แต่อาจจากโครงการ Covid ที่มี hospital ที่ทำให้รายได้ดีแบบก้าวกระโดด จากประกันและภาครัฐ ตั้งเป้สรายได้ปี 2022 เท่าๆกับ 2021
GPM 1H 21 ดีขึ้นเทียบกับ 1H 22
สรุป
1. Model ขยายเครือขายเมืองรอง เน้นผู้ป่วยรายได้ปานกลาง ผู้ป่วยประกันสังคม ผู้ป่วย 30 บาทและประกันชีวิต
2.การขยายไปถึงระดับชุมชนขาดนี้ สิ่งที่ได้แน่ๆคือ data สุขภาพคนไทยทั้งประเทศ อย่าลืมว่า Data is a king
3.ความท้าทายทางการเงินคือ ถ้าไม่มีรายได้ส่วนผู้ป่วย Covid แล้ว บริษัทยังทำกำไรได้อยู่มั้ย เป้าหมายผู้บริหารคือการนำเข้า SET 100 ก็ต้องรอดูกันยาวๆ
ที่มา Finansia P/BV TP 2568 15-16 บาท
ประเมินราคา
รายได้ปี 65 5,100 ลบ.
กำไร 780 ลบ
EPS 0.208 PE 20 price 4.16
PE 30 price 6.240
PE 40price price 8.32
โฆษณา