คำถาม

คุณคิดว่าหน้าที่ของกระบวนการยุติธรรมของรัฐ คือการ "แสวงหา" ความจริงว่าอาชญากรกระทำผิดหรือไม่กระทำผิด หรือ คือการ "ตัดสิน" ว่าอาชญากรกระทำผิดหรือไม่กระทำผิด? ?
21 ก.ย. เวลา 02:27 • ปรัชญา • 9 คำตอบ
1) หากกระบวนการยุติธรรมของรัฐ(ศาล)ตัดสินว่าอาชญากรไม่ได้กระทำผิด(หมายความว่าเขาจะไม่ใช่อาชญากร)นั่นจ... ดูเพิ่มเติม
คำตอบ (9)
  • เฉพาะในกระบวนการส่วนงานสืบสวนสอบสวนของตำรวจในการทำสำนวนน่าจะเป็นการ แสวงหาภายใต้ระยะเวลา ในข้อที่ 1-4 ทำให้นึกถึงคำกล่าวของ ศ.สังเวียน อินทรวิชัยที่ว่า " สิ่งที่ถูกต้องคือสิ่งที่ถูกต้องแม้ไม่มีใครทำสิ่งนั้น สิ่งที่ผิดก็คือส่ิงที่ผิดแม้ว่าทุกคนจะทำสิ่งนั้น" คำตัดสินเป็นไปตาม ข้อก...
    • 1
    • ผิดถูกเป็นเรื่องของกรอบ ง่ายมากในการตัดสิน ที่ยากคือความจริง ครบถ้วนเกี่ยวข้องทันเวลา
      บาปบุญเป็นเรื่องของใจ เหมือนดีเลวเป็นการตีความ เฉพาะตัวของตน ไม่เหมือนคนอื่น...
      • 1
      • มันไม่ใช่การแสวงหาครับ กระบวนการยุติธรรมคือ
        การ “กล่าวหา” จึงเกิดคำว่าผู้ร้องและผู้ถูกร้องขึ้น
        การตัดสิน ก็ไม่ใช่การตัดสินข้อเท็จจริง
        แต่เป็นการที่ “เชื่อได้ว่า”ผิดหรือไม่ผิดเท่านั้น...
        • 2
        • ถ้าใช้คำว่า"ของรัฐ"ก็หมายถึงคนๆนั้นคนเหล่านั้น
          หน่วย งานนั้นองค์กรนั้นมี"คน"ที่เป็นข้าราชการของรัฐ
          ข้าราชการ "ข้าของราชการ ข้าของรัฐ"
          ไม่ใช่"รัฐข้า" ทำอะไรก็ได้...
          • 2
          • กระบวนการยุติธรรมของรัฐ ( เข้าใจว่าหมายถึงศาล ) จะทำหน้าที่ต่อเมื่อมีการฟ้องคดีจากผู้ฟ้องคดี และคิดว่าหน้าที่ของกระบวนการยุติธรรมคือการแสวงหาข้อเท็จจริง จากข้อมูลหลักฐานที่ทั้งผู้ฟ้องคดี และผู้ถูกฟ้องคดีต่างนำมาเสนอให้พิจารณา เมื่อพิจารณาแล้วจึงตัดสินว่าผู้ถูกฟ้องคดีมีความผิดหรือ...
            • 3
            • ขอข้อ 5 เลยได้มะคับ ทั้งสี่ข้อตอบม่ายล่ายเลยคับ ไม่รุมันมีอยู่จิงป่าวคับ
              • 2
              • 1 ทำผิด ไม่ถูกตัดสิน หรือ ถูกตัดสินว่าไม่ผิด คือ ทำผิด แต่ในทางกฏหมาย ยังไม่ผิด ต้องหาหลักฐาน มากกว่านี้
                2 ยกเลิก ความผิด คือ การทำผิด เกิดขึ้นแล้ว แต่ได้รับโอกาส กลับตัว ซึ่งทุกครั้งที่มีใครได้พ้นโทษ ก่อนกำหนด ต้องห้ามกระทำผิด ตามระยะเวลาที่กำห...
                • 3
                • ศาล ไม่ใช่ ผู้ค้นหาข้อมูล หลักฐานมาพิสูจน์ความจริง เป็น หน้าที่ของ โจทย์และจำเลย
                  เมื่อ ศาลรับ ข้อมูล จากทั้งสองฝ่าย และ คำพูดจากทั้งสองฝ่าย จึงนำมา เปรียบเทียบข้อกฏหมาย สรุป และ ตัดสินใจ ภายหลัง
                  • 2
                  • แสวงหาข้อมูลทั้งหมดที่มีเพื่อตัดสินถูกผิดค่ะ
                    ไม่ว่าทางโลกจะตัดสินว่าอย่างไรหรือได้รับพระราชทานอภัยโทษ บาปหรือไม่
                    ไม่ได้ขึ้นอยู่ที่การตัดสินแต่ขึ้นอยู่กับใจของผู้กระทำว่าในขณะที่ทำใจเป็นกุศลหรืออกุศล...
                    • 3