16 ส.ค. 2019 เวลา 04:18 • การศึกษา
มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตตอนกลางวัน?
https://www.google.com/search?q=extreme+fatigue&tbm=isch&tbs=simg:CAQSkwEJIqIlcnz2_18kahwELEKjU2AQaAAwLELCMpwgaYgpgCAMSKN8b7xuWHN4alBzWGacdnAflEoMS3T-RN-4v0D6eO7gl2SXcP78-mjcaMGl5Xz5rl0dQLbyisdg7gzKew36yD--4arLDSlD1sQaRfLxRqNOAU6DryD3I7EwEWSAEDAsQjq7-CBoKCggIARIEHVniTAw&sa=X&ved=0ahUKEwiT6KfJw4bkAhVHgI8KHcy6AXMQwg4ILigA&biw=1920&bih=920#imgrc=kJ_TvKYFUwm3LM:
ร่างกายมนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตกลางวัน โดยมีต่อมไพเนียล เป็นตัวควบคุมระบบร่วมกับ ส่วนอื่นๆของร่างกายหลายๆส่วนที่สำคัญ โดยมีกุญแจคือ แสงสว่างที่มากระทบเรตินา เพื่อเป็นข้อมูลรับรู้ว่า กลางวัน กลางคืน แล้ว มันจะไปควบคุมร่วมกับต่อมไฮโปทาลามัส ที่จะควบคุมการหิว การกระหายน้ำ เรื่องเพศ นาฬิกาชีวิต
หน้าที่ต่อมไพเนียล หลักๆคือ สร้างเมลาโทนิน เพื่อการควบคุมฮอร์โมนเพศ ในการสร้างระบบในร่างกายให้สมบูรณ์ด้วย คนที่ทำงานกลางคืนที่รับรู้ว่า นี่คือกลางคืน จะมีระบบการทำงานที่ไม่สมบูรณ์
เรติน่า มนุษย์ ออกแบบให้ในเวลากลางวันเท่านั้น ไปทำงานกลางคืน จะทำให้ร่างกายรับภาระหนักกว่าปรกติ เหมือนฝืนธรรมชาติเรานั่นแหละ
คนที่ทำงานดึกๆบ่อยๆ จะเกิดความเครียด การเสื่อมทางเพศ ร่างกายเติบโตช้า พัฒนาการทางสมองช้า กินอาหารมากกว่าปรกติ เป็นโรคอ้วนตามมา
ยกเว้นคนที่อยู่ในอาคารตลอดเวลาไม่เห็นเวลาเช้าหรือกลางคืน รู้แต่ ไฟนีออนเท่านั้น อย่างนักบินอวกาศ หรือ คนในเหมืองลึก ที่ไม่รู้เวลา เค้าต้องตั้งเวลาให้พักผ่อนนอนตรงกันทุกวันๆ เพื่อให้ต่อมไพเนียลปรับนาฬิกาชีวิตให้สมดุล
โฆษณา