Blockdit Logo
Blockdit Logo (Mobile)
สำรวจ
ลงทุน
คำถาม
เข้าสู่ระบบ
มีบัญชีอยู่แล้ว?
เข้าสู่ระบบ
หรือ
ลงทะเบียน
Story up
•
ติดตาม
5 ต.ค. 2019 เวลา 05:00 • ประวัติศาสตร์
หอเอนเมืองปิซ่า
เริ่มสร้างขึ้นเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ 1173 สร้างเสร็จเมื่อปี 1350 ใช้เวลาสร้างประมาณ 175 ปี แต่การก่อสร้างหยุดชะงักเมื่อสร้างไปถึงชั้นสามเนื่องจากพื้นใต้ดินเป็นพื้นที่นิ่มทำให้ยุบตัว ต่อมาปี ค.ศ 1272 โดย Giovanni di Simone สร้างให้เอนกลับไปอีกด้านหนึ่งเพื่อให้สมดุล แต่การก่อสร้างในครั้งนี้ ก็ต้องหยุดชะงักลงอีกครั้งเนื่องจากเกิดสงครามต่อมามีการสร้างหอต่อขึ้นอีกและสร้างเสร็จ 7 ชั้นในปี ค.ศ 1372 โดยใช้เวลาสร้างทั้งหมด 117 ปี
หลังจากนั้นในปี ค.ศ1990-2001 หอเอนปิซ่าได้รับการปรับปรุงฐานให้เเข็งแรงขึ้นเพื่อป้องกันไม่ให้หอล้มลงมา
กาลิเลโอ กาบิเลอี เคยใช้หอเอนนี้ทดลองเกี่ยวกับเรื่องแรงโน้มถ่วง ในตอนที่เขาเรียนอยู่ที่มหาวิทยาลัยปิซ่า โดยใช้ลูกบาศก์สองลูกจะตกถึงพื้นพร้อมกัน ซิ่งจะเป็นไปตามกาลิเลโอคาดไว้
เบนิโต้ มุสโสลินี พยายามจะทำให้หอกลับมาตั้งฉากดังเดิม โดยเทคอนกรีตลงไปที่ฐานแต่กลับทำให้หอยิ่งเอียงมากขึ้น กองทัพสหรัฐฯตัดสินใจไม่ยิงปืนใหญ่ใส่หอเอาเมืองปิซ่าในปี ค.ศ 1934
วันที่ 27 กุมภาพันธ์ ค.ศ 1964 รัฐบาลอิตาลี่ พยายามหยุดการเอียงของหอเอนปิซ่าโดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านต่างๆ เช่น วิศวกร นักคณิตศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ โดยใช้เหล็กรวมกว่า 800 ตัน ค้ำไว้ไม่ให้หอเอนลงมา
1
ในวันที่ 7 มกราคม ค.ศ 1990 หอเอนปิซ่าถุกปิดไม่ให้นักท่องเที่ยว เพื่อความปลอดภัยอีกทั้งยังขุดดินของอีกทางด้านออกเพื่อให้สมดุลยิ่งขึ้น เเละในวันที่ 15 ธันวาคม 2001 พอหอเอนเมืองปิซ่าได้ถูกเปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าชมอีกครั้ง และถูกประกาศว่าสมดุลแล้วใน 300 ปีต่อมาหลังจากเริ่มทำการปรับปรุง
ค.ศ 1987 หอเอนเมืองปิซ่าถูกประเทศประกาศว่าเป็นมรดกโลก โดยเป็นส่วนหนึ่งของ Piazza Die Miracoli หอเอนเมืองปิซ่ายังเป็น 7 สิ่ง มหัศจรรย์ของโลกยุคกลางอีกด้วย
นอกจากนี้หอเอนเมืองปิซ่าช่วยให้กาลิเลโอ นักวิทยาศาสตร์ ชาวอิตาลี ผู้มีชื่อเสียงของโลก ได้ทดลองความจริง เรื่องน้ำหนักของของที่ตกเป็นผลสำเร็จอีกด้วย
1
2 บันทึก
25
4
3
2
25
4
3
โฆษณา
ดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน
© 2025 Blockdit
เกี่ยวกับ
ช่วยเหลือ
คำถามที่พบบ่อย
นโยบายการโฆษณาและบูสต์โพสต์
นโยบายความเป็นส่วนตัว
แนวทางการใช้แบรนด์ Blockdit
Blockdit เพื่อธุรกิจ
ไทย