11 พ.ย. 2019 เวลา 14:46 • ธุรกิจ
พูดถึงวิธีการทำงานของคนญี่ปุ่นที่คนไทยรู้จัก ได้แก่ กระบวนการผลิตของคนญี่ปุ่น Just in time delivery และ 5ส แต่คงมีน้อยคนนักที่จะเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการบริหารแบบญี่ปุ่นอื่นๆ
1
ไม่ว่าจะเป็นการหมุนเวียนเปลี่ยนงานในองค์กร การจ้างงานตลอดชีวิต การไปทำงานนอกสถานที่ การฝึกจากการทำงานจริง ... นอกจากนี้ยังมีวิธีการทำงานอีกแบบที่คนญี่ปุ่นมักจะทำอยู่เสมอๆ ก็คือการรายงานผลการทำงานเป็นระยะๆ แต่คนไทยไม่นิยมทำ ทำให้คนญี่ปุ่นมองว่าการทำงานของคนไทยนั้นไม่ค่อยมีการแจ้งความคืบหน้า บางทีไม่รู้หรือตอบไม่ได้ก็เงียบไปเฉยๆ บางครั้งพอสั่งงานก็บอกว่าเข้าใจทั้งๆ ที่จริงๆ ไม่เข้าใจ แต่คนญี่ปุ่นคาดหวังว่าหากไม่เข้าใจก็บอกตรงๆ ไม่ใช่ว่ารับปากแต่จริงๆ ไม่เข้าใจแล้วก็ทำไม่ได้หรือทำผิดจากที่ควรจะเป็น หรือพอเกิดปัญหาก็ไม่กล้าบอกเพราะกลัวโดนดุจนเกิดปัญหาลุกลามใหญ่โต
คนญี่ปุ่นมองว่าการรายงานผลการทำงานนั้นควรจะทำแบบอัตโนมัติคือไม่ต้องรอให้เจ้านายถามแล้วจึงบอก เพื่อที่เจ้านายจะได้รู้ว่าไม่ได้ทำงานไปคนละทิศคนละทางกับที่สั่งหรือหากมีปัญหาอะไรจะได้ช่วยกันหาทางแก้ไขได้ทันเวลา หลักการนี้เรียกว่า Horenso โฮ-เร็น-โซ (報連相) หากทำได้ก็จะได้รับความไว้เนื้อเชื่อใจให้ได้ทำงานสำคัญๆ อย่างแน่นอน
(เรื่องโดย : พิชชารัศมิ์ www.marumura.com)
Ho Ren So” ” (報・連・相)
กฎ 3 ข้อที่ทำให้การทำงานเป็นทีมมีประสิทธิภาพ แบบ #ญี่ปุ่น 🇯🇵
 
ญี่ปุ่นขึ้นชื่อเรื่องการ #ทำงานเป็นทีม เป็นอย่างมาก เนื่องจากความยากลำบากข้นแค้นหลังผ่านสงครามโลกครั้งที่สองมานั้น
ชาวญี่ปุ่นถูกปลูกฝังให้ #คิดเพื่อส่วนรวม กลุ่มก้อน องค์กร และประเทศก่อนเหนือสิ่งอื่นใด ไม่ให้คิดถึงประโยชน์ส่วนตัวเป็นหลัก
#การปลูกจิตสำนึก ประเภทนี้ ดูได้จากครั้งเมื่อเกิดสึนามิ ไม่ว่าจะมีการแจกอาหาร ของใช้ บางคนอาจจะคิดว่าหยิบเอาได้เท่าไหร่ต้องตุนไว้ก่อน เพราะกำลังลำบากและขาดแคลน แต่ชาวญี่ปุ่นจะถูกปลูกจิตสำนึก ให้นึกถึงผู้อื่นก่อนเสมอรับแต่พอดี เพื่อที่คนอื่นจะได้ไม่ลำบากด้วย และญี่ปุ่นก็ยังเป็นประเทศต้นๆ ที่มีการบริหารจัดการหน่วยงานระดับ องค์กร และประเทศได้อย่างมีระบบ น่านับถือมาก
วันนี้เราอยากมาพูดถึง #นโยบายการสื่อสาร อย่างมีประสิทธิภาพ เล็กๆ 3 ข้อที่สำคัญในการบริหารงานแบบทีมเพื่อให้ลองนำไปปรับใช้ นั่นก็คือ
Ho Ren So
Ho มาจาก #Hokoku (報告, to report), คือการ #รายงาน #บอก #อัพเดท
Ren มาจาก #Renraku (連絡, to inform) a คือ #ติดต่อ #แจ้ง #เชื่อมต่อ #สื่อสาร
So มาจาก #Sondan (相談, to consult) คือการ #ปรึกษาหารือ #ขอความเห็น #ระดมสมอง
นี่คือกฎเหล็กการสื่อสารที่ถึงขั้นตามโรงงาน และ บริษัทญี่ปุ่น แปะไว้ตามผนังเตือนใจพนักงาน ว่าอย่างลืมทำเรื่องนี้อย่างจริงจัง ไม่ว่าจะเกิดปัญหา เกี่ยวกับ งาน คน สินค้า เครื่องจักร อะไรก็ตามแต่ ควรจะแจ้งหัวหน้างานให้ทราบทันที
เพื่อให้มีการประสานงาน แก้ไข ติดต่อสื่อสารเพื่อแก้ปัญหาต่อไป เพราะเรื่องบางเรื่อง เมื่อเกิดแล้ว อาจจะกระทบกับผู้อื่น ฝ่ายอื่น หรือที่สำคัญกระทบกับลูกค้าด้วย จึงควรมีการติดต่อ สื่อสาร เพื่อแก้ปัญหาให้เร็วที่สุด
และอีกอย่างคือ ไม่ว่าจะมีเรื่องราอะไรที่ตัดสินใจไม่ได้ ไม่สบายใจ หรือ มีคอมเม้นต์คำแนะนำจากลูกค้า หรือมีอะไรดีๆ เพื่อที่จะสามารถพัฒนาการทำงาน สินค้า หรือแม้กระทั่งลดขั้นตอนการทำงาน ลดค่าใช้จ่ายได้
1
เราสามารถที่จะ “#โซดัน” หรือปรึกษาหัวหน้างานเราได้ทันที การอยู่ร่วมกันเป็นหมู่คณะ ไม่ว่าจะเป็นสถาบันครอบครอบ กลุ่ม องค์กร บริษัท หรือระดับประเทศ
การติดต่อสื่อสารถือเป็นเรื่องสำคัญ จากแค่ 3 คำนี้ “ Ho Ren So” นำพาการบริหารงานของญี่ปุ่นได้มีประสิทธิภาพมากมาย ลองนำไปปรับใข้กันนะคะ
บทความจาก
 
cr: picture womenways.club
“Hō-Ren-Sō” (報・連・相) is a business mantra or mnemonic acronym in Japanese business culture. It is an “abbreviation of “Hōkoku” (報告, to report), “Renraku" (連絡, to inform) and “Sōdan” (相談, to consult), and is more memorable as a homonym of hōrensō, the Japanese word for "spinach". It is utilized as a basic business rule in Japan to conduct smooth business communication. The origin of “Ho-Ren-So” comes from Tomiji Yamazaki who was the ex-president of Yamatana Security firm. In 1982 he started using the term for effective business communication in his firm and it has been widely spread and used throughout Japan through his book, “Strengthen your company with Ho-Ren-So”.
“Hokoku” is to report on a process or result of business from a subordinate to a superior.[1] In Japan, subordinates don't have much authority to make business decision. Usually the decisions are made by an organization as a whole. Therefore, a subordinate must report everything to superior immediately and exactly. It is especially important to report a mistake or a problem immediately because his/her superior has the responsibility for it.
“Renraku” is to inform facts. One must inform the facts and decision to the relevant parties. One should not include one's opinion and guesses. If "Renraku" is not done or not completed, then you cannot control your team. And then, "Renraku" communicated to the people who need it. Finally, "Renraku" done quickly. Its content might need to prepare for the next action.
“Sodan” is to consult or discuss. For example, a superior give a subordinate an advice, and an employee talks over with superior about some unnecessary consultation in Japanese business. Because a superior rarely speaks to a subordinate in the Japanese company, but, they want to be asked for their advice. They want others to think that "you can always count on me." So, they feel better if they receive request for consultation from their subordinate.
There are many benefits to incorporating the "Ho-Ren-So" philosophy. First, if a issues within tasks are reported, it can be resolved quickly because a manager controls it and decides how to resolve it. Next, if information is communicated with team members and it is known all members of a team, they can take ownership of the schedule and tasks. Finally, if information is consulted from a subordinate, a decrease of quality will be prevented and likely won't occur again.
On the other hand, there are some Cons in "Ho-Ren-So". First, there is a cost of management. It is a very time consuming process, leaving employees with little time to complete their various work assignments. Moreover, and since a subordinate must always wait instructions from his/her supervisor, this prevents employees from applying problem-solving skills on their own without the constant need for managerial input.
(Horenso wikipedia)
โฆษณา