20 ธ.ค. 2019 เวลา 09:39 • วิทยาศาสตร์ & เทคโนโลยี
ทำไมดูหนังหรืออ่านนิยายแล้วเกิดมีอารมณ์ร่วม
ขึ้นทั้งที่รู้ว่าเรื่องราวเหล่านั้นไม่ใช่เรื่องจริง...?
คำถามว่าทำไม่เมื่อเราเห็นคนอื่นได้รับความทุกข์หรือแค่ได้อ่านเรื่องความเศร้าของคนอื่นเรามีอารมณ์เกิดขื้นตามนั้นเปันคำถามที่นักวิทยาศาสตร์สงสัยกันมานานแสนนาน
เมื่อมีการค้นพบเชลล์ประสาทกระจก (mirror neuron) และนั้น นักวิทยาศาสตร์จำนวนหนื่งก็เชื่อว่านี้อาจเป็นคำตอบของคำถามนี้โดยคำอธิบายว่า กลไกมาจากการทำงานของสองระบบด้วยกัน
1 เชลล์ประสาทกระจก
2 ทฤษฏีการเกิดอารมณ์ของเจมส์-แลง
ตามทฤษฎีของเจมส์-แลง ที่บอกว่าอารมณ์ของเราเกิมาจากการเปลื่วแปลงการมำงานของร่างกาย
เมื่อเราเห็นคนอื่นเเสดงสีหน้าต่างๆเช่น ทำหน้าเคร้า, อ่านนิยายตอนโรแมนติก, ดูหนังตอนที่นางเอกเขินอาย เชลล์ประสาทกระจกในสมองเราจะสะท้อนการทำงานของกล้ามต่างๆบนใบหน้าเราหรือในนิยายเมื่อเราสร้างภาพตัวละครที่มีความสุขขี้นในหัวเรา แล้วมันก็จะสะท้อนไปที่สมองส่วนที่ควบคุมกล้ามเนื้อบนใบหน้าของเราเสมือนว่าเรากำลังทำหน้าเลืยนแบบอารมณ์นั้นจริง จากนั้นก็อธิบายต่อด้วยทฤษฎีอารมณ์ของวิลเลี่ยมเจมส์
สมองที่ควบคุมกล้ามเนื้อใบหน้าทำงานคล้ายกับว่าเรากำลังมีอารมณ์อะไร สมองส่วนอารมณ์ก็จะสร้างอารมณ์นั้นตามขี้นมาและนั้นคือคำอธิบายแบบรวมๆ
ว่าทำไมเื่อนางเอกเขินเราถึงเขินตามนั้นเปันเรื่องของอารมณ์
คราวนี้เรามาพูดถึงเรื่องของความรู้สึกเจ็บกันบ้าง
เมื่อเราพูดว่าเราเข้าใจความรู้สึกของเขสาเราจะพูดว่า "สันเหันใจเธอ" เชลล์ประสาทกระจกในสหมองจเราจะทำให้เรารู้สึกเสมือนว่าเรากำลังรู้สึกเช่นนั้นจริงๆ เราเข้าใจความเจ็บปวดของคนอื่นเหมือนว่าความเจ็บนั้นเกิดขึ้นกับเราจริงๆชชี่งอธิบายง่าทำไมเราจืงรู้สึกหดหูไปกับเขาสุขไปกับเขาได้อย่างเป็นธรรมชาติเสมือนว่าเส้นแบ่งที่แยกตัวเราจากคนอื่นมันจาไปจนเหมือนกับว่าเราเปันคนเดืยวกัน เมื่อเส้นแบ่งละหว่างเราจางลง เราจืงรักและปรารถนาดีกับเขาเหมือนที่เรารักและปรารถนาดีกับตัวเอง
แต่ถึงอย่างไรก็ตามอารมณ์รวมก็ไม่ได้เกิดขี้นกับทุกคน เราจะรู้สึกเช่นนี้เฉพาะกับคนที่เรารักหรือรู้สึกเป็นพวกเดียวกับเราเท่านั้นยิ่งสนิทสนมมากยิ่งรู้สึกร่วมด้วยมาก
การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญที่อยู่เบื้องหลังความรู้สึกนี้ยังไปกระตุ้นใสื่อสานประสาทอีกสองตัหลั่งเพิ่มขื้นตามมาได้แก่สารสื่อประสาทที่ชื่อเชโทนินและโดปามีน
โฆษณา