15 ต.ค. 2020 เวลา 09:52 • สุขภาพ
🤯 โรคลำไส้แปรปรวน หรือที่เรียกกันว่า กลุ่มอาการไอบีเอส Irritable Bowel Syndrome (IBS)
🥺อาการที่พบมาก ได้แก่ อาการปวดท้อง รู้สึกไม่สบายท้อง มักจะเป็นๆ หายๆ ระบุตำแหน่งยาก แต่มักเด่นในช่องท้องส่วนล่างมากกว่าส่วนบน มีอาการท้องเดินเรื้อรัง หรือท้องผูก หรือมีอาการท้องเดินสลับท้องผูกเป็นประจำ และที่สำคัญคืออาการปวดท้องที่เกิดขึ้นจะดีขึ้นเมื่อได้ขับถ่ายอุจจาระ
นอกจากนี้ยังมีอาการอื่นๆ ที่พบ ได้แก่ อุจจาระมีเมือกสีขาวปะปน ท้องอืด ท้องเฟ้อ รู้สึกว่ามีการเคลื่อนไหวของลำไส้ตลอดเวลา ในผู้หญิงที่เป็นไอบีเอสอาจมีอาการคล้ายกับช่วงที่มีประจำเดือน
🙄ปัจจุบันยังไม่มียารักษาภาวะไอบีเอสให้หายขาด การใช้ยาเป็นเพียงการบรรเทาตามอาการเท่านั้น และผู้ที่เป็นไอบีเอสควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทาน และลดความเครียดร่วมด้วย
อ่านเพิ่มเติม
🏅โรคลำไส้แปรปรวน ปวดท้องเรื้อรัง ถ่ายผิดปกติ อืดแน่นท้อง จากลำไส้ใหญ่ โดย พญ.พิชชา ปิ่นจันทร์
🥇รู้ทัน รับมือ ไอบีเอส “โรคลำไส้แปรปรวน” ป่วนชีวิต คณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี
💢ลำไส้แปรปรวน เด็กๆก็เป็นได้ ป้องกันแก้ไขให้ถูกจุด
💢โรคลำไส้แปรปรวน Irritable bowel syndrome IBS
💢ลำไส้แปรปรวน เรื้อรังน่ารำคาญ บั่นทอนสุขภาพจิต
💢โรคไอบีเอส โรคลำไส้ทำงานแปรปรวน
รศ.นพ.อุดม คชินทร 
💢โอ๊ะ โอ๊ย! ทำไงดี “ลำไส้ทำงานแปรปรวน” 
ศ.คลินิก.นพ.อุดม  คชินทร 
ภาควิชาอายุรศาสตร์ 
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล   
💢อย่าให้ลำไส้แปรปรวนรบกวนชีวิตคุณ (IBS) | โรงพยาบาลศิริราช 
💢Eluxadoline…opioid receptor agonist/antagonist สำหรับรักษา IBS
🏆Irritable bowel syndrome diagnosis and management: A simplified algorithm for clinical practice https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC5625880/
🥈Thai IBS Guideline 2013 - สมาคมประสาททางเดินอาหารและการเคลื่อนไหว
🥉โรคลำไส้แปรปรวน - วงการแพทย์
🏅CME Functional abdominal pain disorders
ศาสตราจารย์แพทย์หญิงสุพร ตรีพงษ์กรุณา
ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
POSTED 2020.10.05
โฆษณา