1 แบ่งตามความหมาย
2 เป็นการแบ่งตามหน้าที่หรือความหมายของคำกริยานุเคราะห์นั้นๆ ซึ่งมีอยู่ทั้งสิ้น 23 ความหมาย คือ
◦ ใช้ให้ทำ (使役 : shieki)
◦ ถูกกระทำ (受身 : ukemi)
◦ เป็นไปได้ (可能 : kanou)
◦ ยกย่อง (尊敬 : sonkei)
◦ เกิดขึ้นเอง (自発 : jihatsu)
◦ สุภาพ (丁寧 : teinei)
◦ ต้องการ (希望 : kibou)
◦ หักล้าง (打ち消し : uchikeshi)
◦ มั่นใจ (断定 : dantei)
◦ อดีต (過去 : kako)
◦ เสร็จสมบูรณ์ (完了 : kanryou)
◦ สันนิษฐาน (推定 : suitei)
◦ ต่อเนื่อง (存続 : sonzoku)
◦ ตรวจทาน (確認 : kakunin)
◦ คาดคะเน (推量 : suiryou)
◦ ตั้งใจ (意志 : ishi)
◦ คาดคะเนเชิงหักล้าง (打ち消し推量 : uchikeshi suiryou)
◦ ตั้งใจเชิงหักล้าง (打ち消し意志 : ichikeshi ishi)
◦ เปรียบเทียบ (比況 : hikyou)
◦ ยกตัวอย่าง (例示 : reiji)
◦ เล่าต่อ (伝聞 : denbun)
◦ แสดงอาการ (様態 : youtai)
◦ มั่นใจอย่างสุภาพ (丁寧な断定 : teinei na dantei)
3
4 แบ่งตามรูปแบบการผัน
◦ ผันแบบคำกริยา 5 ขั้น (五段 : godan) หรือ 1 ขั้นตัวล่าง (下一段 : shimo ichidan)
◦ ผันแบบคำคุณศัพท์กลุ่มที่ 1
◦ ผันแบบคำคุณศัพท์กลุ่มที่ 2
◦ ผันแบบพิเศษ
◦ ผันแบบไม่เปลี่ยนรูป
5
6 แบ่งตามการเชื่อม
7 แบ่งตามลักษณะของคำศัพท์ที่ไปพ่วง ว่าคำศัพท์นั้นผันอยู่ในรูปแบบใด คือ mizenkei, renyoukei, shuushikei หรือ rentaikei