17 มิ.ย. 2021 เวลา 04:24 • วิทยาศาสตร์ & เทคโนโลยี
วันนี้ขอมาในเรื่อง '' เทคโนโยี กับสภาพแวดล้อม''
สภาพแวดล้อมในปัจจุบันเราก็น่าจะทราบกันดีนะครับ คือ
1.โลกร้อน
2.ฝุ่นPm2.5
3.น้ำท่วม
และอื่นๆ
และถ้าในฝันล่ะ
ด้านผลกระทบที่ดี
เทคโนโลยีกับสิ่งเเวดล้อมและพลังงานธรรมชาติ
เทคโนโลยีสัมพันธ์กับพลังงานและสิ่งแวดล้อมในส่วนที่เกี่ยวกับการนําพลังงานมาใช้ให้เกิดประโยชน์ การใช้พลังงานแบบประหยัด และการใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในปัจจุบันปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นจากการปนเปื้อนของสารชนิดต่างๆในแหล่งน้ำ ดิน อากาศ นอกจากจะส่งผลกระทบทำให้สภาพแวดล้อมมีคุณภาพเสื่อมโทรมลงแล้ว ยังได้ส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมบริเวณดังกล่าวอีกด้วย การแก้ไขและ/หรือการป้องกันการปนเปื้อนของสารต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นสารอินทรีย์หรือสารอนินทรีย์ต้องอาศัยพื้นฐานความรู้จากนักวิทยาศาสตร์และผู้เชี่ยวชาญในศาสตร์ต่างๆหลายสาขา เช่น นักเคมี นักชีววิทยา นักจุลชีววิทยา วิศวกร เพื่อนำความรู้และเทคโนโลยีมาผสมผสานและประยุกต์ใช้เพื่อการกำจัดหรือลดปริมาณการปนเปื้อนสารต่างๆในสิ่งแวดล้อม
เทคโนโลยีการฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีทั้งวิธีทางฟิสิกส์ เคมีและชีวภาพ นับว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันและการป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาต่อเนื่องถึงอนาคต การเลือกใช้เทคโนโลยีการฟื้นฟูที่เหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศและสภาพพื้นที่ย่อมส่งผลให้ปัญหาสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ได้รับการแก้ไขที่ถูกต้อง
เทคโนโลยีสัมพันธ์กับพลังงานและสิ่งแวดล้อมในส่วนที่เกี่ยวกับการนําพลังงานมาใช้ให้เกิดประโยชน์ การใช้พลังงานแบบประหยัด และการใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในปัจจุบันปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นจากการปนเปื้อนของสารชนิดต่างๆในแหล่งน้ำ ดิน อากาศ นอกจากจะส่งผลกระทบทำให้สภาพแวดล้อมมีคุณภาพเสื่อมโทรมลงแล้ว ยังได้ส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมบริเวณดังกล่าวอีกด้วย การแก้ไขและ/หรือการป้องกันการปนเปื้อนของสารต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นสารอินทรีย์หรือสารอนินทรีย์ต้องอาศัยพื้นฐานความรู้จากนักวิทยาศาสตร์และผู้เชี่ยวชาญในศาสตร์ต่างๆหลายสาขา เช่น นักเคมี นักชีววิทยา นักจุลชีววิทยา วิศวกร เพื่อนำความรู้และเทคโนโลยีมาผสมผสานและประยุกต์ใช้เพื่อการกำจัดหรือลดปริมาณการปนเปื้อนสารต่างๆในสิ่งแวดล้อม
เทคโนโลยีการฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีทั้งวิธีทางฟิสิกส์ เคมีและชีวภาพ นับว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันและการป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาต่อเนื่องถึงอนาคต การเลือกใช้เทคโนโลยีการฟื้นฟูที่เหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศและสภาพพื้นที่ย่อมส่งผลให้ปัญหาสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ได้รับการแก้ไขที่ถูกต้อง
แต่ในชีวิตจริงล่ะ
การใช้เทคโนโลยีมาพัฒนาธรรมชาติ
เป็นเทคโนโลยีที่ใช้ในการติดตาม ตรวจสอบ ดูแล บำบัด ฟื้นฟูสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และลดปัญหามลพิษที่อาจส่งผลกระทบ ต่อสภาพแวดล้อมและสุขภาพของมนุษย์ หลักการของเทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อม ต้องเป็นเทคโนโลยีที่นำไปใช้เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไปได้ เทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อม ได้แก่
1.เทคโนโลยีที่ใช้ควบคุมและบำบัดมลพิษ
2.เทคโนโลยีชีวภาพด้านสิ่งแวดล้อม
3.เทคโนโลยีภูมิปัญญาด้านสิ่งแวดล้อม
4.เทคโนโลยีชีวภาพด้านสิ่งแวดล้อม
5.เทคโนโลยีการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
6.เทคโนโลยีด้านพลังงานที่เกี่ยข้องกับการอนุรักษ์พลังงานและพลังงาน
ต่อไปในด้านผลเสียกันบ้าง
ในปัจจุบันสิ่งแวดล้อมที่เป็นธรรมชาติ ทั้งภายในประเทศและในท้องถิ่นมีแนวโน้มถูกทำลายเพิ่มมากขึ้น ในขณะเดียวกันสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม (ที่มนุษย์สร้างขึ้น) กลับเพิ่มมาแทนมากขึ้นเป็นลำดับ ทั้งนี้เนื่องจากในปัจจุบันจำนวนประชากรมนุษย์เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว มีการประดิษฐ์และพัฒนาเทคโนโลยีมาใช้อำนวยประโยชน์ต่อมนุษย์เพิ่มมากขึ้น ผลจากการทำลายสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติส่งผลกระทบต่อมนุษย์หลายประการ เช่น ปัญหาการแปรปรวนของภูมิอากาศโลกการร่อยหรอของทรัพยากรธรรมชาติภัยพิบัติมีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้นมลพิษสิ่งแวดล้อมขยายขอบเขต กว้างขวางมากขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อการดำรงอยู่และการมีคุณภาพชีวิตที่ดีของมนุษย์ เพื่อป้องกันปัญหาดังกล่าวทุกคนจึงต้องตระหนักถึง ปัญหาร่วมกัน โดยศึกษาถึงลักษณะของปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น ตลอดจนแสวงหาแนวทางในการ ป้องกันเพื่อแก้ปัญหา
ผลกระทบที่เกิดจากการใช้เทคโนโลยีที่มีต่อสิ่งแวดล้อม
3
วิดีโอ YouTube
เทคโนโลยี คือสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมาเพื่ออำนวยประโยชน์หากนำมาใช้อย่างไม่ระมัดระวังก็จะส่งผล กระทบต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์ทั้งทางตรงและทางอ้อม ในระยะที่ผ่านมามนุษย์ได้พัฒนาเทคโนโลยี มาใช้ประโยชน์ในทุกๆด้าน แต่ในทางตรงกันข้าม ผลจากการใช้อย่างขาดสติก็ได้ส่งผลกระทบต่อทั้งมนุษย์ และสิ่งแวดล้อมเช่นเดียวกัน ดังนี้
 
1.ผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ทำให้ทรัพยากรธรรมชาติอันเป็นปัจจัยสำคัญ ในการ ดำรงชีวิตของทั้ง มนุษย์และสิ่งมีชีวิตทั้งมวลถูกทำลาย และส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม คือ
(1) การสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่
- การสูญเสียทรัพยากรดิน เกิดปัญหาการพังทลายของดิน ดินเสื่อมคุณภาพ อันเป็นผลจากการใช้เครื่องจักรกลทางการเกษตร การใช้สารเคมีในการเกษตร
- การสูญเสียทรัพยากรน้ำ เช่น แหล่งต้นน้ำลำธารถูกทำลาย ปัญหาภัยแล้ง ปัญหาน้ำเน่าเสีย การทิ้งสิ่งปฏิกูลที่ย่อยสลายได้ยาก และปล่อยสารเคมีลงสู่แหล่งน้ำ
- การสูญเสียทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่าอันเนื่องมาจากการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการทำลายป่าอันเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า
- การสูญเสียทรัพยากรแร่ธาตุ และพลังงานจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในปัจจุบัน ทำให้มีการนำทรัพยากรแร่ธาตุมาใช้อย่างแพร่หลายโดยเฉพาะพลังงาน ปีหนึ่ง ๆ ต้อง
สูญเสีย งบประมาณในการ จัดหาพลังงานมาใช้เป็นจำนวนมหาศาล
(2) สูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ
หลังจากที่สิ่งมีชีวิตก่อกำเนิดขึ้นบนโลก จากนั้นได้วิวัฒนาการเพิ่มจำนวนและชนิดมากขึ้นเป็นลำดับต่อจากนั้น ผลจากการเปลี่ยนแปลงทางสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติทำให้สิ่งมีชีวิตมีแนวโน้มสูญพันธุ์อย่างช้าและมีการคาดการณ์ว่าสิงมีชีวิต จะมีอัตราการสูญพันธุ์ เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1,000 เท่า
(3) การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกกิจกรรมของมนุษย์หลายประการมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ซึ่งจะส่งผลต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิตทั้งในปัจจุบันและในอนาคต ดังนี้
การเกิดภาวะเรือนกระจก (Greenhouse Effect)สาเหตุสืบเนื่องมาจากการสะสมของ ก๊าซที่มีคุณสมบัติในการดูดซับความร้อนจากดวงอาทิตย์ เช่น ก๊าซคาร์บอนที่เกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงที่เป็นซากสิ่งมีชีวิตและก๊าซมีเทนซึ่งเกิดจากการเน่าเปื่อยของสิ่งมีชีวิตเป็นต้น ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการตั้งถิ่นฐานมนุษย์ เนื่องจากระดับน้ำทะเลสูงขึ้น ระบบนิเวศจะเปลี่ยนแปลงจากภาวะปัจจุบันบรรยากาศโอโซนถูกทำลาย ในปัจจุบันได้เกิดภาวะที่รุนแรงขึ้นกับโลก และกำลังมีผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตต่างๆที่อาศัยอยู่บนโลกทั้งบนบกและในทะเลคือการที่รังสีมีอัลตราไวโอเลตส่องผ่าน ชั้นบรรยากาศลงสู่พื้นโลกมากเกินไปเนื่องจากบรรยากาศชั้นโอโซนถูกทำลาย
(4) เกิดปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม หมายถึง ของเสียหรือสิ่งแปลกปลอมที่ปนเปื้อนและก่อให้ เกิดอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งประกอบด้วยมลพิษจากแหล่งชุมชนมลพิษจากแหล่งอุตสาหกรรม และมลพิษจากแหล่งเกษตรกรรม
1
2. ผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยี ที่มีต่อสิ่งแวดล้อมทางสังคมนอกจากจะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติแล้ว หากนำมาใช้อย่างไม่ระมัดระวังก็จะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทางสังคม และวัฒนธรรมของมนุษย์ได้ เช่น
(1) ปัญหาการเพิ่มประชากรอย่างรวดเร็ว เนื่องมาจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทางการแพทย์ หากไม่มีการป้องกันหรือ
แก้ไข ในอนาคตก็จะเกิดปัญหาวิกฤติประชากรได้
(2) สูญเสียความหลากหลายทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นเกิดจากความเจริญก้าวหน้า ด้านการคมนาคม ขนส่ง การสื่อสาร ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมอย่างรวดเร็ว จนกระทั่งคนรุ่นหลัง ไม่มีเวลาในการคัดเลือกสิ่งดี ๆ ของภูมิปัญญาดั้งเดิมมาปรับใช้
(3) สูญเสียความเข้มแข็งของสถาบันทางสังคม สถาบันต่างๆทางสังคม เช่น ครอบครัว ชุมชนศาสนาการศึกษามีบทบาทต่อวิถีชีวิตของสมาชิกในสังคมน้อยลง สื่อและเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาทำให้เกิด ปัญหาต่างๆตามมา เช่น ปัญหายาเสพติด อาชญากรรม
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อชีวิตและสังคม
ยุคของเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือยุคข้อมูลข่าวสาร มีการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศจนสามารถนามาใช้ประโยชน์ได้อย่างมากมาย ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อมวลมนุษย์อย่างมหาศาล ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงอะไรก็ตามย่อมมีผลกระทบต่อบุคคล องค์กร หรือสังคม สามารถจาแนกผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศออกเป็น 2 ด้านคือผลกระทบด้านบวกและผลกระทบด้านลบ ดังนี้ (บุญสืบ โพธิ์ศรี. 2547 : 15-17)
1. ผลกระทบด้านบวก
1.1 เพิ่มความสะดวกสบายในการสื่อสาร การบริการและการผลิต
1.2 เป็นสังคมโลกแห่งการสื่อสาร โดยสามารถเอาชนะเรื่องระยะทาง เวลา และสถานที่ได้ด้วยความเร็วในการติดต่อสื่อสารที่เป็นเครือข่ายความเร็วสูง และที่เป็นเครือข่ายแบบไร้สาย ทาให้มนุษย์สามารถติดต่อถึงกันอย่างรวดเร็ว
1.3 มีระบบผู้เชี่ยวชาญต่าง ๆ ในฐานข้อมูลความรู้ เกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตในด้านที่เกี่ยวกับสาธารณสุขและการแพทย์
1.4 เทคโนโลยีสารสนเทศสร้างโอกาสให้คนพิการ หรือด้อยโอกาสจากการพิการทางร่างกาย เกิดการสร้างผลิตภัณฑ์ช่วยเหลือคนพิการให้สามารถพัฒนาทักษะและความรู้ได้เพื่อให้คนพิการเหล่านั้นสามารถช่วยเหลือตนเองได้
1.5 พัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยเกิดการศึกษาในรูปแบบใหม่ กระตุ้นความสนใจแก่ผู้เรียนโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อในการสอน
1.6 การทางานเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น กล่าวคือช่วยลดเวลาในการทางานให้น้อยลงแต่ได้ผลผลิตมากขึ้น
1.7 ผู้บริโภคได้รับประโยชน์จากการบริโภคสินค้าที่หลากหลาย และมีคุณภาพดีขึ้น ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทาให้รูปแบบของผลิตภัณฑ์มีความแปลกใหม่และหลากหลายมากยิ่งขึ้น
2. ผลกระทบด้านลบ
2.1 ก่อให้เกิดความเครียดในสังคมมากขึ้น เนื่องจากมนุษย์ไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง เคยทาอะไรแบบใดมักจะชอบทาอย่างนั้นไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง แต่เทคโนโลยีสารสนเทศเข้าไปเปลี่ยนแปลงบุคคลที่รับต่อการเปลี่ยนแปลงไม่ได้จึงเกิดความวิตกกังวล จนกลายเป็นความเครียด
2.2 ก่อให้เกิดการรับวัฒนธรรม หรือแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมของคนในสังคมโลกทาให้พฤติกรรมที่แสดงออก ด้านร่างกายและการบริโภคเปลี่ยนแปลงไป การมอมเมาเยาวชนในรูปของเกมอิเล็กทรอนิกส์ ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาอารมณ์และจิตใจของเยาวชนเกิดการกลืนวัฒนธรรมดั้งเดิมซึ่งแสดงถึงเอกลักษณ์ของสังคมนั้น ๆ
2.3 การมีส่วนร่วมของคนในสังคมลดน้อยลง
2.4 ก่อให้เกิดการละเมิดสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคล
2.5 ก่อให้เกิดช่องว่างทางสังคม
2.6 ก่อให้เกิดอาชญากรรมบนเครือข่าย
2.7 ก่อให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพ
สังคมไทยยุคปัจจุบันมีการใช้และพึ่งพาเทคโนโลยีเพื่อความเป็นอยู่ในชีวิตประจาวันมากขึ้นตามลาดับ เห็นได้จากชนิดของอุปกรณ์ที่ใช้เข้าถึงอินเทอร์เน็ต อันได้แก่ คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์พกพา สมาร์ทโฟน และแท็บเล็ตพีซี เป็นต้น ผลสารวจในภาพรวม พบว่า อุปกรณ์ที่ใช้กันมากในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ได้แก่ คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์พกพา และสมาร์ทโฟน คิดเป็นร้อยละ 77.5 67.9 และ 69.5 ของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ตามลาดับ ส่วนแท็บเล็ตพีซีมีผู้ใช้ ร้อยละ 35.3 สาหรับพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตจาแนกตามกลุ่มอายุ พบว่า กลุ่มผู้ใหญ่จะเน้นการใช้งานอินเทอร์เน็ตเพื่อการรับ-ส่งอีเมล และการค้นหาข้อมูลมากกว่ากลุ่มเด็กและเยาวชน ในขณะที่กลุ่มเด็กจะเน้นการใช้งานอินเทอร์เน็ตเพื่อการเล่นเกมออนไลน์ และการดาวน์โหลดมากกว่ากลุ่มผู้ใหญ่ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวเป็นสิ่งที่ผู้ที่เกี่ยวข้องกับเด็กและเยาวชนจะต้องตระหนักถึงและหาแนวทางเพื่อสนับสนุนให้กลุ่มเด็กและเยาวชนเลือกใช้อินเทอร์เน็ตในกิจกรรมที่เป็นประโยชน์กับการพัฒนาตนเองมากขึ้น (สานักนโยบายและส่งเสริมธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. 2556 : 46-54)
โดยพื้นฐานของเทคโนโลยีย่อมมีประโยชน์ต่อการพัฒนา เจริญก้าวหน้าได้ แต่เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับวิถีความเป็นอยู่ของสังคมสมัยใหม่อยู่มาก การใช้ไอทีในปัจจุบันมักเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นการใช้งานทั่ว ๆ ไปอย่างการจัดเอกสารโดยอาศัยซอฟต์แวร์ที่มีประสิทธิภาพ การสื่อสารผ่านคอมพิวเตอร์เครือข่ายหรืออินเตอร์เน็ต การใช้ระบบงานคอมพิวเตอร์เพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและทาให้เกิดระบบสารสนเทศสาหรับการวางแผนและตัดสินใจ ผลทางด้านบวกของเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้แก่ ช่วยเสริมสร้างคุณภาพชีวิต กระจายความเท่าเทียมกันของมนุษย์ในด้านการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ที่ไม่จากัดอยู่ในสถานศึกษา ส่งเสริมด้านพานิชยกรรม อุตสาหกรรม เป็นต้น
แนวคิดหลักของเทคโนโลยี
1. ความสัมพันธ์และบทบาทของเทคโนโลยี
1) ด้านการดำรงชีวิตประจำวัน เทคโนโลยีมีความสำคัญเป็นอย่างมากด้านการใช้ชีวิตประจำวัน เช่น รถยนต์ก็เป็นยานพาหนะที่ใช้ในการเดินทางทำให้ชีวิตสะดวกสบายยิ่งขึ้น
2) ด้านการพัฒนาประเทศ แบ่งออกเป็นหลายด้าน เช่น ด้านเศรษฐกิจ,ด้านการศึกษา,ด้านสังคม ตัวอย่าง เราใช้เทคโนโลยีต่างๆในการศึกษาเช่น คอมพิวเตอร์ ช่วยในการเรียนรู้ข้อมูลต่างๆได้รวดเร็วขึ้น ใช้ศึกษาหาข้อมูล
3) ด้านสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยี ช่วยให้มนุษย์สามารถทำงานได้มากขึ้น เดินทางได้รวดเร็วขึ้น สามารถมองเห็นได้ไกลกว่าที่ดวงตามนุษย์จะมองเห็นได้ สามารถติดต่อสื่อสารและสื่อความหมายกันได้ โดยไม่ต้องเดินทางมาพบกัน ฯลฯ เช่น มนุษย์สามารถเดินทางได้ถึงวันละ 408,000 ไมล์โดยทางอากาศ เป็นต้น ที่สำคัญก็คือมนุษย์ได้อาศัยเทคโนโลยีในการผลิตอาหาร ทำให้ได้อาหารมากขึ้นต่างกับสมัยก่อน
2. ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ
วิทยาศาสตร์ คือ วิชาที่ศึกษาถึงปรากฏการณ์ธรรมชาติ ทั้งในสภาพนิ่งหรือสภาพที่มีการเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยี คือ กระบวนการหรือวิธีการและเครื่องมือที่เกิดจากการประยุกต์ และผสมผสานความรู้ทางวิทยาศาสตร์และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อมนุษย์เหมาะสมกับเวลาและสถานที่ วิทยาศาสตร์มีจุดมุ่งหมายในการแสวงหาความรู้อย่างเป็นระบบ โดยตั้งข้อสมมติฐาน พิสูจน์สมมติฐานด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้ หรือข้อเท็จจริงจากปรากฏการณ์นั้น ๆ ถ้ามีการพิสูจน อีกก็ยังคงใช้ข้อเท็จจริงเหมือนเดิม เทคโนโลยีเป็นวิทยาการที่เกิดจากการใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และศาสตร์อื่นๆ ในการแก้ปัญหา โดยมุ่งแสวงหากระบวนการหรือวิธีการ (Know How) โดยอาศัยเครื่องมือและความรู้ต่าง ๆ ผลของกระบวนการเทคโนโลยีมี 2 ลักษณะ คือ 1. เครื่องมือ หรือฮาร์ดแวร์ หมายถึง เทคโนโลยีในรูปของอุปกรณ์ เครื่องมือต่าง ๆ เช่น เครื่องบำบัดน้ำเสีย เครื่องปรับอากาศ เครื่องบิน เป็นต้น 2.วิธีการหรือ เรียนกว่า ซอฟต์แวร์ หมายถึง เทคโนโลยีในรูปของวิธีการ กระบวนการ ความรู้ต่าง ๆ เช่น วิธีจัดการระบบบริหารองค์กร วิธีประเมินผลต่าง ๆ โปรแกรมคอมพิวเตอร์
3. เทคโนโลยี คือ การนำความรู้จากทางวิทยาศาสตร์มาประดิษฐ์เป็นสิ่งต่างๆเพื่อให้เกิดความสะดวกรวดเร็วและสะดวกในการใช้งานประหยัดเวลาในหลายๆด้าน ตัวอย่างเช่นมีการสร้างคอมพิวเตอร์ไว้เขียนอีเมลล์สะดวกรวดเร็งกว่าการเขียนโทรเลข เทคโนโลยีเป็นสิ่งที่มนุษย์นำมาจากความรู้ทางธรรมชาติวิทยามาคิดค้นและดัดแปลงธรรมชาติเพื่อแก้ไขปัญหาในการดำรงชีวิตต่างๆ เทคโนโลยีหรือเทคนิควิทยา มีความหมายค่อนข้างกว้างโดยทั่วไปมีความหมายถึงธรรมชาติวิทยาและต่อเนื่องมาถึงวิทยาศาสตร์มาเป็นการปฏิบัติประยุกต์ใช้เพื่อช่วยในการทำงานหรือแก้ไขปัญหาต่างๆ
4. เทคโนโลยีแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ คือ 1) เทคโนโลยีในลักษณะของกระบวนการ 2) เทคโนโลยีในลักษณะผลผลิต 3) เทคโนโลยีในลักษณะผสมของกระบวนการและผลผลิต
5. ประโยชน์ของเทคโนโลยี เทคโนโลยีมีประโยชน์หลายด้านไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษาด้านสารสนเทศด้านอาหารและด้านเกษตรแต่ละด้านล้วนมีประโยชน์มากมาย เช่นด้านการศึกษาเราสามารถศึกษาหาข้อมูลได้สะดวกและรวดเร็วกว่าการเปิดตำราหนังสือ
6. เกษตรศาสตร์ทางธรรมชาติ คือการพยายามที่อธิบายว่าทำไมจึงเกิดอย่างนั้น เช่น นักฟิสิกส์ อธิบายว่า เมื่อขดลวดตัดสนามแม่เหล็กจะได้กระแสไฟฟ้า และน้ำเกิดจากไฮโดรเจนผสมกับออกซิเจน เป็นต้น ตั้งเป็นกฎเกณฑ์และทฤษฎีเพื่อถ่ายทอดและสอนให้ผู้อื่นได้ศึกษาและพัฒนา ส่วนในความหมาย ของเทคโนโลยีเป็นการประยุกต์ นำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ และก่อให้เกิดประโยชน์ ในทางปฏิบัติแก่มวลมนุษย์ กล่าวคือ เทคโนโลยีเป็นการนำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ ในการประดิษฐ์สิ่งของต่าง ๆ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดส่วนที่เป็นข้อแตกต่างอย่างหนึ่งของเทคโนโลยี
7. ศึกษาศาสตร์ การนำเอาเทคโนโลยีการศึกษามาใช้นั้น ส่วนใหญ่นำมาใช้ในการแก้ปัญหา ในด้านการศึกษาก็เช่นเดียวกัน เพราะปัญหาทางด้านการศึกษามากมาย เช่น - ปัญหาผู้สอน - ปัญหาผู้เรียน - ปัญหาด้านเนื้อหา - ปัญหาด้านเวลา ปัญหาเรื่องระยะทางนอกจากนั้นการนำเทคโนโลยีการศึกษามาใช้ในการเรียนการสอนก็เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการเรียนการสอนและเพิ่มประสิทธิผลทางการศึกษาอีกด้วยคณะกรรมการด้านเทคโนโลยีการศึกษาได้สรุปความสำคัญของเทคโนโลยีการศึกษาดังนี้ 1. เทคโนโลยีการศึกษาทำให้การเรียนการสอน มีความหมายมากขึ้น ทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้กว้างขวาง เรียนได้เร็วขึ้น ทำให้ผู้สอนมีเวลาให้ผู้เรียนมากขึ้น 2. เทคโนโลยีการศึกษาสามารถตอบสนองความแตกต่างของผู้เรียน ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความสามารถของผู้เรียน การเรียนการสอนจะเป็นการตอบสนองความสนใจและความต้องการของแต่ละบุคคลได้ดี
8. ความสัมพันธ์กับเทคโนโลยีการแพทยศาสตร์การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและความงาม โรงพยาบาลและสาธารณสุขโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ มีความจำเป็นที่จะต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์การอนามัยโลก บ้านคอมพิวเตอร์ที่อยู่รอบ ๆ ตัวคุณสามารถตรวจสอบสุขภาพของคุณโดยที่คุณสามารถและส่งข้อมูลสุขภาพไปยัง แพทย์เจ้าของไข้หรือตรวจโรคผ่านระบบออนไลน์สิ่งเหล่านี้จะไม่ใช่เรื่องไกลตัวเราอีกต่อไปเมื่อ บริษัท ผู้พัฒนาซอฟต์แวร์และแอพพลิเคชั่นต่างๆ
9. โภชนาศาสตร์ โภชนศาสตร์ หรือ โภชนาการ เป็นวิชาวิทยาศาสตร์แขนง-หนึ่งที่กล่าวถึงความสำคัญของอาหารที่มีต่อสุขภาพของร่างกาย ศัพท์เฉพาะทางโภชนศาสตร์ที่ควรทราบ 1) อาหารที่กำหนดให้ (DIET) เป็นอาหารที่ได้กำหนดไว้หรือให้ รายชื่อตายตัวของอาหารนั้นแต่ละมื้อโดยมักจะกำหนดเป็นรายการอาหาร 2) ผู้กำหนดอาหาร(Dietitian หรือ Dietician) คือบุคลผู้ดำเนินงานด้านจัดปรุงอาหาร โดยยึดหลักวิชาโภชนศาสตร์ ในการจัดเตรียมอาหารบุคคลผู้นี้ต้อง คิดทำรายการอาหารเพื่อบริโภคเป็นมื้อรวมทั้งอาหารปกติและสำหรับคนป่วย 3) อาหาร (Food) คือสิ่งที่มนุษย์นำมาบริโภคได้ และก่อให้เกิดประโยชน์แก่ร่างกายซ่อมแซมชำรุดส่วนที่สึกหรอให้พลังงานและความอบอุ่นตลอดจนช่วยในการคุ้มกันโรค พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 ได้นิยามคำศัพท์คำว่า อาหาร ว่า อาหาร คือของกินหรือของค้ำจุนชีวิต ได้แก่ วัตถุทุกชนิดที่กิน ดื่ม อม หรือนำเข้าสู่ร่างกายแต่ไม่รวมถึงยา วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้หรือใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตอาหาร
10. เทคโนโลยีที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารโทรคมนาคมของไทยจะมีอยู่ในระดับสูง แต่เทคโนโลยียังรวมถึงเทคโนโลยีอื่น ๆ ที่จำเป็นในการพัฒนาประเทศ ต้องใช้คอมพิวเตอร์ที่ทันสมัย การกำจัดพืชโดยไม่ใช้ดินปลูกพืชในน้ำยาที่มีธาตุอาหาร สามารถปรับยอดขายได้และคุณภาพของพืชได้ดีกว่าเทคโนโลยีในการเก็บรักษาคุณภาพผลิตผลทางการเกษตร 2) เทคโนโลยีชีวภาพเข้าเยี่ยมชมเทคโนโลยีชีวภาพจากต่างประเทศมากขึ้นทุกปีโดยเฉพาะ การเทคโนโลยีการแพทย์เช่นอุตสาหกรรมการผลิตเคมีภัณฑ์อุตสาหกรรมเคมีอุตสาหกรรมอุตสาหกรรมเคมีอุตสาหกรรมเคมีอุตสาหกรรมเคมีอุตสาหกรรม เทคโนโลยีการผลิตและการพัฒนายาใหม่ 5) เทคโนโลยี การสื่อสารโทรคมนาคมเป็นสิ่งสำคัญยิ่งสำหรับสังคมยุคโลกาภิวัตน์ในปัจจุบันและการสื่อสารการสื่อสารโทรคมนาคมที่ใช้กันในชีวิตประจำวันเช่นโทรศัพท์มือถือระบบโทรสารอินเทอร์เน็ต 6) การขนส่งทางอากาศ ระบบคอนเทรนเนอร์เป็นต้น 7) เทคโนโลยีขั้นสูง (ไฮเทค) 8)
11. เทคโนโลยีสารสนเทศเกี่ยวกับการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ มีบทบาทมากขึ้นในการให้บริการทั้งในและต่างประเทศ ใช้ประโยชน์ในการพัฒนาวิกิพีเดีย 2. เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านต่าง ๆ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาสังคมให้มีการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ โรงเรียนสอนคนพิการในโรงพยาบาลผู้ป่วยและผู้พิการสามารถอ่านหนังสือได้ด้วยระบบ DAISY (Digital Accessible Information System) 3. เทคโนโลยีสารสนเทศเกี่ยวกับการพัฒนาด้านการศึกษา 5 ประเด็นคือ 3.1. การใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีหลายรูปแบบเช่นการเจาะและการปฏิบัติโปรแกรมเชิงเส้นโปรแกรมสาขาการจำลองเกมมัลติมีเดียระบบสารสนเทศอัจฉริยะ CAI 3.2 การศึกษาค้นคว้าด้วยวิธีทางไกล (Teleconference) 3.3 เครือข่ายการศึกษา (เครือข่ายการศึกษา) การดูแลรักษาเครื่องใช้ไฟฟ้า บริการไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์หลายรูปแบบ r พิธีสาร Telnet เวิลด์ไวด์เว็บเช่นเครื่องคอมพิวเตอร์จะช่วยให้ผู้เรียนได้ข้อมูลแหล่งข้อมูลข้อมูลที่มีจำนวนมากที่เชื่อมต่อในเครือข่ายทั่วโลก 3.4 การใช้งานในห้องสมุด (Electronic Library) วารสารวิชาการหรือวารสารการศึกษา การใช้งานในห้องปฏิบัติการเช่นการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการจำลองสถานการณ์การใช้งานในงานประจำและงานบริหาร (Computer Manage Instruction) การใช้งานในสำนักงานเพื่อช่วยในการบริหารจัดการให้เกิดความคล่องตัวรวดเร็วและแม่นยำในการตัดสินใจ ในการดำเนินการต่างๆที่เกิดขึ้นเทคโนโลยีสารสนเทศกับการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน 4. เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนา ด้านสาธารณสุขเทคโนโลยีสารสนเทศได้รับการนำมาใช้ในการพัฒนาด้านสาธารณสุขอย่างกว้างขวางและทำให้งานด้านสาธารณสุขเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วโดยกระทรวงสาธารณสุขได้ปรับระบบการบริหารงานและนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในงานต่างๆ
12. เทคโนโลยีท้องถิ่นที่มีลักษณะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับความต้องการของเทคโนโลยีในท้องถิ่น อยู่กับสภาพแวดล้อมของท้องถิ่นและมีความสามารถในการเปลี่ยนแปลงไม่ได้หยุดพักกับทั้ง นี้เนื่องจากการที่มนุษย์ต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาพธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับท้องถิ่นควรมีพื้นฐานมาจากการพัฒนาเทคโนโลยีพื้นบ้านโดยการดัดแปลงแก้ไขความรู้พื้นฐานหรือภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เป็นประโยชน์มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
วันนี้ขอบคุณนะครับ
โฆษณา