9 ก.ย. 2021 เวลา 11:20 • การเกษตร
#ช่วงอินเนอร์โกรเกาะกระแส
.
แก้ปัญหาต้นไม้ทิ้งลูก
หลายๆท่านคงเจอปัญหาฝนตกหนัก🌧 ช่วงนี้เยอะเลยนะครับ
คือ พืชหนีไม้พ้นอาการบ้าใบ ยกตัวอย่างง่ายๆ
สวนบ้านผมปลูกกุหลาบลงดิน🌹 (ซึ่งอาจจะยังไม่ควรทำในช่วงหน้านี้เพราะจะกะปริมาณความชื้นได้ยากพอสมควร ควรใส่กระถางไปก่อน) จึงไม่ค่อยติดดอก🌹 ที่เป็นเช่นนี้เนื่องมาจากสาเหตุบางอย่าง (จากหลายๆ สาเหตุ) ก็คือ การได้รับธาตุอาหารหรือได้รับปุ๋ยไนโตรเจน (ธาตุไนโตรเจน: N) มากเกินพอดี ทำให้กุหลาบหรือพืชชนิดอื่นเจริญเติบโตแค่เพียงทางใบ และออกดอกช้าลงหรือไม่ออกดอกเลย ประกอบกับช่วงฝนตกที่พืชอาจจะได้รับไนโตรเจนมากเกินไป
#ไนโตรเจนได้มาจากที่ใด???
#ตอบ ได้มาจากการตรึงแก๊สไนโตรเจนในอากาศโดยจุลินทรีย์ เช่นไรโซเบียมในปมรากถั่ว โดยไรโซเบียมจะอาศัยคาร์โบไฮเดรทจากพืช
🟢 การตรึงแก๊สไนโตเจนจากอากาศโดยจุลินทรีย์ที่อยู่อย่างอิสระ เช่นพวกสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน โดยจะเข้าไปอยู่ในโพรงใบพวกแหนแดง พอแหนแดงตายทับถมในดินก็ได้ไนโตรเจนอีกทาง
🟢 น้ำฝน จากการเกิดฟ้าแลบ แก๊สไนโตรเจน จะถูกออกซิไดซ์ละลายในน้ำฝน โดยไนโตรเจน 0.5 kg/ไร่/ปี
🟢 ใส่ปุ๋ย จากปุ๋ยเคมีที่สังเคราะห์ขึ้น และปุ๋ยคอก ปุ๋ยพืชสด และปุ๋ยอินทรีย์
.
เราจึงควรเสริม #แคลเซียม ให้พืชด้วยการฉีดพ่นปุ๋ยน้ำที่มีส่วนประกอบแคลเซียมที่มากพอเหมาะต่อการเจริญเติบโตของพิชผลทุกชนิด
แคลเซียม เป็นธาตุรอง เป็นธาตุที่พืชนำไปใช้เพื่อการเจริญเติบโตในตัวพืช มีหน้าที่เกี่ยวกับโครงสร้างของผลไม้ ช่วยเสริมสร้างเซลล์ และการแบ่งเซลล์ของพืช ซึ่งพืชต้องการอย่างต่อเนื่อง และยังช่วยส่งเสริมการนำธาตุไนโตรเจนมาใช้ให้เป็นประโยชน์มากขึ้น ในระยะออกดอก และระยะที่สร้างเมล็ดพืชจะมีความจำเป็นมาก เพราะธาตุแคลเซียมจะมีส่วนในการเคลื่อนย้ายและเก็บรักษาคาร์โบไฮเดรตและโปรตีนในพืช เพื่อนำไปใช้ในการสร้างผล และเมล็ดต่อไป
.
ซึ่งเพื่อนๆรู้ไหมครับว่ายะฮู้ของเรามีส่วนประกอบแคลเซียมที่มากพอเหมาะต่อการเจริญเติบโตของพิชผลทุกชนิดนั่นเอง
#ส่วนประกอบ :
- แมกนีเซียม 0.75%
- แคลเซียม 3%
- ธาตุรองเสริมคีเลต
- กรดอะมิโนจากสาหร่าย
- สารต้านอนุมูลอิสระ
และที่สำคัญมีคุณประโยชน์ที่ช่วยให้พืชทนต่อสภาพอากาศที่เลวร้ายได้ดีขึ้นอีกด้วยนะครับ
ขอบคุณรูปและข้อมูลจาก : กลุ่มวิเคราะห์ดิน สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 11
ติดตามปุ๋ยอินเนอร์โกรมากขึ้น
โทร : 061-5199919
โฆษณา