20 พ.ย. 2021 เวลา 08:50 • ธุรกิจ
มิติวัฒนธรรมการทำงานทั้ง 5 ด้าน ของประเทศจีน โดยอิงตามเกณฑ์ของ Hofsted
1. มิติช่องว่างของอำนาจ
- ช่องว่างทางอำนาจในสังคม องค์กร มีสูงมาก เนื่องด้วยวัฒนธรรมของชาวจีน ที่มีการใหความเคราพผู้อาวุโส ความเป็นเจ้านายกับลูกน้องที่ชัดเจน แลัยังมีการทำงานระบบครอบครัว ทำให้อำนาจระหว่างผู้ที่อยู่ข้างบนมีมาก ผิดกับผู้ที่อยู่ต่ำลงมา หรือผู้ที่อยู่ใต้ยังคับบัญชา การทำงานส่วนใหญ่เลยจะเป็นแบบรวมอำนาจ เจ้าของหรือผู้อำนาจเลยจะเป็นคนสัดสินใจในเรื่องต่างๆเกือบทั้งหมด
2. มิติความเป็นเพศชาย
- ในสังคมจะมีการในความสำคัญกับเพศชาย มากกว่าเพศหญิง เรื่องนี้แสดงให้เห็นจากวัฒนธรรมช่องว่างของอำนาจ ผู้มีอาจส่วนใหญ่จะเป็นเพศชาย และยังมีการสนับสนุนลูกชายให้ได้รับการศึกษามากกว่าลูกผู้หญิง โอกาศที่ลูกชายสนิทกับพ่อ (คือผู้ที่มีอำนาจมากที่สุดในบ้าน) และการให้โอกาศในเรื่องต่างๆมากกว่าผู้หญิง ส่วนนึงอาจจะมากจากคำสอนของลัทธิขงจื้อที่ว่า ลูกชาย คือผู้ที่เลี้ยงดูพ่อแม่ และลูกชาย คือผู้ที่สืบทองตระกูล
3. มิติความเป็นปัจเจกชน
- ความเป็นปัจเจกชนในสังคมจีนมีต่ำ เพราะว่ามีการรวมกลุ่มกันเป็นเรื่องปกติ ทั้งในด้านการทำงาน การที่ผู้อุวาโส หัวหน้า หรือพ่อมีอิทธิและมีอำนาจมาก ทำให้คนส่วนใหญ่คล้อยตามการตัดสินใจของบุคลนั้นๆ เลยมีผลโดยตรงกับการเป็นปัจเจกจน เพราะส่วนใหญ่ตะเป็นการรวมกลุ่มกันมากกว่า
4. มิติด้นการหลีกเลี่ยงความเสี่ยง
- ชาวจีนมีนิสัยขยัน อดทน ชอบหาความรู้ใหม่ๆ ช่างสังเกต และมีความประหยัดอดออม ทำให้ชาวจีนไม่ค่ยกลัวความเสี่ยง เมื่อเห็นช่งทางการทำธุรกิจ หรือโอกาศ พวกเราก็พร้อมที่จะแยกตัวจากบริษัท หรือจากการทำงานในครอบครัว เพื่อไปประกอบกิจการใหม่ๆ หรือทำงานใหม่ๆ ด้วยตัวเอง
5.มิติด้านเวลา long term relationship
- แสดงค่าสูงเกือบ 100% สะท้อนว่าสังคมชาวจีนให้ความสำคัญเป็นอย่างมากกับความ สัมพันธ์ระหว่างบุคคล ความเป็นคนรู้จัก เครือญาติ ครอบครัว พี่น้อง แช่เดียวกัน พูดภาษาเดียวกัน มาจากถิ่นที่อยู่เดียวกันสถาบันการศึกษาเดียวกัน หรือมีคนรู้จักทำตัวเป็นคนกลางเพื่อแนะนำให้รู้จักกัน ส่งผลต่อความสำเร็จในการร่วมงานกัน การทำธุรกิจร่วมกัน
#อ่านดีกว่าไม่อ่าน
#ฝากกดไลค์ กดแชร์ แสดงความคิดเห็นและเป็นกำลังใจให้ผู้เขียนด้วยนะครับ ขอบคุณครับผม😊
โฆษณา