1 พ.ค. 2022 เวลา 01:35 • หุ้น & เศรษฐกิจ
Loss Aversion ep.1 😱การหลีกเลี่ยงการสูญเสีย อาการกลัวขาดทุนมากเกินไป
เชื่อได้ว่าหลายคนที่มาเทรดไม่ว่าตลาดอะไรก็ตาม ก็ไม่มีใครที่อยากจะขาดทุน อยากให้ทุกไม้บวกตลอด ซึ่งเป็นไปไม่ได้ที่จะได้ที่จะชนะตลาดไปตลอด ซึ่งแน่นว่าการคาดหวังแบบนั้นมากเกินไปที่จะชนะทุกไม้ ก็อาจจะเกิดอาการ Loss Aversion การหลีกเลี่ยงการเสีย ซึ่งเราจะมาทำให้ความ Loss Aversionให้มากขึ้น รวมไปถึงหาแนวทางการแก้ไข และรับมือ
Loss Aversion การหลีกเลี่ยงการเสีย คืออะไร 😓
คืออาการทางจิตของมนุษ์ที่ต้องการหลีกเลียงการสูญเสีย ซึ่งทุกคนมีทุกคน โดยคาดว่ามาจากแต่ยุคที่มนูษย์เราถือกำเนิด เพราะร่างกายเราสอนให้เราปลอดภัยใว้ก่อน เพื่อการอยู่รอดของเผ่าพันธิ์ ยกตัวอย่างง่าย เวลากินอาหารเยอะ แน่นอนว่าเราต้องอ่วน ซึ่งส่งไม่ดีต่อร่างกาย รายการเต็มไปด้วยไขมัน ซึ่งรางกายก็รู้ว่าไขมันมันไม่ดี แต่ทำมัยถึงเก็บไขมันใว้เป็นหน้าท้องเพราะว่า ร่างกายต้องคิดเผื่อว่า ถ้าวันหนึ่งไม่มีอาหารก็ยังใช้ไขมันนีมาเป็นรพลังงานได้ เห็นใหมขนาด ฉนั้น เป็นเรื่องปกติที่เราจะมีความคิดที่จะกลัวเสียมากกว่าได้ โดยทฏษฏีนี้ถูกนำมาใช้ครั้งแรกในปี คศ. 1979 โดย kaneman และ tversky
ยกตัวอย่างให้ชัดเจนมากขึ้น
ลองพิจารณาตัวอย่างง่ายๆ นี้ดูก็ได้ มีกล่องจับฉลาก 2 กล่องให้เลือก
กล่องแรก: ได้เงิน 100,000 บาทชัวร์ๆ
กล่องที่สอง: อาจจะได้เงิน 200,000 บาท หรือ ไม่ได้อะไรเลย
ผลการวิจัย กลุ่มคนสว่นใหเลือก กล่องแรก
หรือสำนวนไทยก็มัจะพูดว่า กำขี้ดีกว่ากำตด
Loss Aversion ในรูปแบบการเทรด📉📊
1.กลัวขาดทุนเกินจนไม่ได้เข้า 😱
สาเหตุก็มาจากหลายอย่าง หนึ่งคือไม่มีแผนในการเข้า และการแบบ Over หรือเจ็บปวดจาการขาดทุนก่อนหน้านี้ แลัวทำให้ไม่กล้าเข้า
2.แทงม้าตัวเดียว 😡
สถานะการนี้ เกิดเมือมีให้หุ้นเลือก 2 ตัวราคาพอกัน แน่นอนว่าเราต้องเลือกหุ้นที่ดีที่สุด แต่อนาคตเป็นสิ่งที่เราไม่สามารถกำหนดได้ หุ้นตัวที่เราไม่ได้เลือกนั้นมีกำไรเท่ากับตัวแรกที่เราเลือกหรือมีกำไรมากกว่า จึงเกิดเป็นทุขทั้งที่เรากำไรจากหุ้นตัวแรก แต่เราก็เป็นทุขที่ไม่เข้าหุ้นตัว 2
3.ไม่กล้าปิดออเดอร์ เพราะกลัวขาดทุนจริง🙀
การติดดอย หรือ โดนล้างเพราะไม่กล้าปิดออเดอร์ เพราะเมือปิดแล้ว ถือว่าเกมนั้นเราจบแล้ว และการที่เปิดออเดอร์ทิ้งใว้มันก็จะมัความหวัง ที่ราคาก็มีโอกาศที่บวก นั้นก้อาจทำให้เราพลาดโอกาสที่ไปทำกำไรจากหุ้นตัวอื่น
ตอนหน้าเราจะมาแนวทางการรับมือกับอาการ Loss Aversion
cr.อ่านเพิ่มเติมได้ที่
cr.image
โฆษณา