23 พ.ค. 2022 เวลา 15:47 • การศึกษา
สงสัยไหม⁉️ ทำไมเวลาแช่มือหรือเท้าในน้ำเป็นเวลานาน ๆ เป็นแบบนี้⬇️
เนื่องจากผิวหนังของมนุษย์เรามีสาร “ซีบัม (Seebum)” เคลือบอยู่ หากไม่โดนน้ำเจ้าสารตัวนี้ก็จะเคลือบผิวของเราเอาไว้ค่ะ ทำให้กันน้ำได้
1
💬ถ้าใครนึกไม่ออกว่ากันน้ำยังไง “ลองเปิดน้ำแล้วเอามือเข้าไปลองค่ะ จะเห็นเลยว่ามีหยดน้ำอยู่บนมือของเรา” ที่เป็นแบบนั้นเพราะมีสารนี้เคลือบอยู่นั่นเองค่ะ
แต่เมื่อเราเอามือหรือเท้าลงไปในน้ำนาน ๆ ต่อมผลิตนี้ก็จะไม่ผลิตสารเคลือบออกมา ทำให้น้ำซึมเข้าไปในใต้ผิวหนังของเราได้ (ใต้ผิวหนังคือชั้นหนังกำพร้าที่ตายแล้วแห้ง)
1
ดังนั้นการที่เราเห็นว่านิ้วเหี่ยว จริง ๆ แล้วมันไม่ได้เหี่ยวนะคะ แต่มันพองบวม”ออกค่า
1
📌บริเวณปลายนิ้วมือของเราจะยึดกับเนื้อด้านล่างเป็นจุด ๆ ทำให้การบวมของผิวไม่เท่ากัน ดูเป็นริ้ว ๆ เหมือนเหี่ยว สุดท้ายเมื่อเราขึ้นจากน้ำแล้ว น้ำที่อยู่ในผิวหนังก็จะระเหยออกไปเองแล้วนิ้วก็จะเป็นปกติค่ะ
1
📍แต่ผลวิจัยล่าสุดได้ออกแนวคิดใหม่ขึ้นมาว่า..
บางทีที่ร่างกายทำกลไกให้นิ้วเหี่ยวตอนแช่น้ำ เป็นกระบวนการหนึ่งของการปรับตัวเพื่อให้เราสามารถหยิบจับสิ่งของในน้ำได้ เพื่อใช้ในการเอาชีวิตหรือมีวิกฤตนั่นเองค่ะ
2
โฆษณา