11 ธ.ค. 2023 เวลา 08:37 • ประวัติศาสตร์

สงครามสนามเพาะที่ เยอมรมัน ถูกยกย่องในสงครามโลกครั้งที่ 1 อิสลามมีมาตั้งเเต่สงครามคอนดัก (สนามเพาะ)

หากย้อนดูในมุมมองทางประวัติศาสตร์ สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ที่รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า “มหาสงคราม” หรือ “สงครามเพื่อยุติสงครามทั้งหมด” เป็นหนึ่งในความขัดแย้งทางการทหารที่สูญเสียชีวิตมากที่สุดในประวัติศาสตร์
สงครามครั้งนี้มีทหารเสียชีวิตกว่า 8 ล้านคน และพลเรือนอีกว่า 6.6 ล้านคน โดยร้อยละ 60 ของผู้ที่เข้าร่วมสงครามจะเสียชีวิต เกิดขึ้นในช่วงเวลา 4 ปี ระหว่างปี 1914-1918 สงครามครั้งนี้สิ้นสุดด้วยความพ่ายแพ้ของฝ่ายมหาอำนาจกลางที่นำโดยเยอรมนี สงครามครั้งนี้สิ้นสุดอย่างเป็นทางการในวันที่ 11 พฤศจิกายน 1918
ในสนามเพลาะซึ่งเป็นคูดินลึกพอให้ทหารตั้งปืนเพื่อยิงฝ่ายตรงข้ามที่จะบุกเข้ามานั้น เต็มไปด้วยทหารที่ยืนเรียงรายกันตลอดแนว ในอีกด้านหนึ่ง ฝ่ายบุกก็มักจะเริ่มโจมตีด้วยปืนใหญ่ก่อนที่จะให้ทหารบุกเข้าไปยึดสนามเพลาะของข้าศึก อย่างไรก็ตาม การที่จะเอาชนะนั้นไม่ง่าย เหตุผลก็เพราะคนที่ตั้งรับอยู่ในสนามเพลาะนั้นมักจะได้เปรียบในเรื่องของทำเลและภูมิประเทศที่เลือกไว้ก่อนแล้ว เช่นเดียวกับเรื่องของการที่ทหารของพวกเขายืนอยู่ในที่ที่มีที่กำบังในขณะที่ฝ่ายรุกนั้นวิ่งเข้ามาในที่โล่งแจ้ง
ผลก็คือ ฝ่ายรุกมักจะไม่สามารถเอาชนะฝ่ายรับได้และมักจะเสียหายหนัก และทั้งสองฝ่ายก็ผลัดกันรุกและรับกลายเป็นสงคราม “ยืดเยื้อ” ที่ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างหนักทั้งสองฝ่าย
สงคราวยืดเยื้อนั้น มีคุณสมบัติที่สำคัญก็คือ การที่ฝ่ายหนึ่งพยายาม “ตี” ให้อีกฝ่ายหนึ่งอ่อนแรงลงไปเรื่อย ๆ จนถึงจุดที่ “หมดแรง” อันเป็นผลจากการที่บุคลากรและอาวุธยุทโธปกรณ์ถูกทำลายลงไปอย่างต่อเนื่อง โดยปกติแล้ว ฝ่ายที่มีทหารและทรัพยากรมากกว่าก็มักจะเป็นฝ่ายชนะ แต่นั่นก็มักจะใช้เวลายาวมาก
ในประวัติศาสตร์นั้น กลยุทธ์สงครามยืดเยื้อมักจะใช้โดยฝ่ายที่เสียเปรียบ อาจจะเนื่องจากการที่มีกำลังทหารและความสามารถน้อยกว่าและ/หรือมีอาวุธยุทโธปกรณ์ด้อยกว่า และมักจะเป็นการใช้เมื่อหมดหนทางจริง สงครามโลกครั้งที่หนึ่งนั้น
ดูเหมือนว่ากำลังของทั้งสองฝ่ายต่าง และอาจจะเป็นเพราะว่ามีการพัฒนาการทางด้านของอำนาจการยิงแต่เรื่องของการสื่อสารและการเคลื่อนพลยังล้าหลัง รถบรรทุกและรถถังที่ใช้ขนส่งกำลังยังมีน้อยมากและไม่เพียงพอ ทำให้ผู้นำทหารต่างก็ต้องใช้กลยุทธ์สงครามแบบยืดเยื้อโดยการขุดสนามเพลาะและรบกันในสนามเพลาะเป็นหลัก
กลับมาที่กลยุทธ์ลงทุนในตลาดหุ้นไทยในช่วงเร็ว ๆ นี้ และย้อนหลังไปประมาณ 3-4 ปี ดัชนีตลาดหุ้นดูเหมือนว่าจะไม่ไปไหน เช่นเดียวกับที่ความผันผวนก็ลดลงมาก การลงทุนในตลาดหุ้นดูเหมือนกับการรบในสนามเพลาะที่คนเล่นไม่สามารถเอาชนะหรือทำกำไรได้ ยิ่งเล่นหรือเข้าตีมากเท่าไรก็จะยิ่งเสียหายมากเท่านั้น กลยุทธ์แบบเดิมที่เข้าซื้อหุ้นแบบทุ่มซื้อเพื่อหวังที่จะให้ราคาปรับตัวขึ้นไปแรง
การรบแบบสายฟ้าแลบนั้นดูเหมือนว่าจะไม่ทำงานอีกต่อไปและอาจจะทำให้ต้อง “ติดหุ้น” อย่างยาวนาน สถานการณ์ต่าง ๆ ทางด้าน “พื้นฐาน” และ/หรือ เก็งกำไรในช่วง 3-4 ปีมานี้ดูเหมือนว่าจะไม่เป็นใจในการที่จะใช้กลยุทธ์รุกรบรุนแรงหรือการเล่นหุ้นโตเร็วราคาแพงเพราะคนอาจจะไม่เชื่อว่าราคามันจะขึ้นไปสูงและยืนอยู่ได้อีกต่อไป ทุกครั้งที่หุ้นขึ้นก็จะมีคนขายทำให้มันตกลงมาที่เดิม
ดังนั้น เราอาจจะต้องเปลี่ยนกลยุทธ์ให้เหมาะสม ตั้งสมมุติฐานว่านี่คือสงครามยืดเยื้อที่รบกันในสนามเพลาะและเราไม่สามารถเอาชนะได้ง่าย ยุทธศาสตร์ที่สำคัญก็คือ รักษากำลังหรือเม็ดเงินของเราให้ปลอดภัยที่สุด วิธีการก็คือ ลงทุนในหุ้นแข็งแกร่งและจ่ายปันผลงาม กระจายหุ้นเพื่อกระจายความเสี่ยงให้เหมาะสม นี่ก็คือ “การเล่นหุ้นในสนามเพลาะ” พยายามอย่าให้แพ้ ไม่ต้องเอาชนะ
สงครามสนามเพลาะ รู้จักกันในชื่อ สงครามพันธมิตร เป็นสงครามที่นานถึง 30 วันในช่วงที่ล้อมเมืองยัษริบ (ปัจจุบันคือ มะดีนะฮ์) โดยชาวอาหรับ และชาวยิว โดยกองทัพสมาพันธ์มีทหารประมาณ 10,000 นาย และทหารม้ากับอูฐอีก 600 นายในขณะที่ชาวมะดีนะฮ์มีทหารประมาณ 3,000 นาย
สงครามคอนดัก มีมาก่อนสนามเพลาะของเยอรมัน
เเนะนำการทำโดย ท่านซัลมาน อัลฟารีซีร์
ขาวมุสลิมได้ทำตามศาสดามุฮัมหมัดให้ขุดสนามเพลาะตามคำแนะนำของซัลมาน ฟารซี และปราการธรรมชาติในมะดีนะฮ์ทำให้ทหารม้า (รวมถึงม้าและอูฐ) ของสมาพันธ์ไร้ประโยชน์ และได้ชักชวนเผ่าบนูกุร็อยเซาะฮ์ให้โจมตีฝ่ายมุสลิมทางตอนใต้ แต่อย่างไรก็ตาม แผนทางการทูตของมูฮัมหมัดได้ทำให้ฝ่ายสมาพันธ์แตกแยกโดยสิ้นเชิง พร้อมกับสภาพอากาศที่เลวร้ายทำให้สงครามนี้สิ้นสุดลง
หลังจากที่ชาวมักกะฮ์แพ้สงครามแล้ว พวกเขาสูญเสียทั้งการค้าขายและศักดิ์ศรี
เผ่าที่มาต่อสู้กับมุสลิมในขณะนั้น
1. ทหารในสมาพันธ์ของเผ่าถูกรวบรวมโดยชาวกุเรชแห่งมักกะฮ์ นำโดยอบูซุฟยาน มีทหารเดินเท้า 4,000 นาย ทหารม้า 300 นาย และทหารบนอูฐ 1,000–1,500 นาย
2. บนูนาดีรได้รวบรวมเผ่าเร่ร่อนแถวแคว้นนัจญ์ โดยเกณฑ์ทหารจากบนูคอตาฟานแล้วจ่ายไปครึ่งหนึ่ง ทหาร 2,000 นาย และทหารม้า 300 นาย นำโดยอุนัยนา อิบน์ ฮะซัน ฟาซารี
3. เผ่าบนีอะซัดได้เข้าร่วม แต่เผ่าบนีอะมีร ปฏิเสธที่จะเข้าร่วม เนื่องจากมีข้อตกลงกับมุฮัมหมัดส่วนเผ่าอื่นเช่นบนูมุรรานำโดยฮารส์ อิบน์ เอาฟ์ มุรรีพร้อมกับทหาร 400 นาย และบนูชูญานำโดยซุฟยาน อิบน์ อับดุลชามพร้อมกับทหาร 700 นาย
ถ้านำมารวมแล้ว ไม่มีใครรู้ว่าจำนวนทหารของสมาพันธ์มีอยู่เท่าใด จึงมีการประมาณว่า มีทหารอยู่ 10,000 นาย และทหารม้า 600 นาย โดยมีอบูซุฟยานเป็นแม่ทัพ
การป้องกันจากฝ่ายมุสลิม
ผู้ชายจากเผ่าบนูคุซาอ์ได้มาหามุฮัมหมัดในเวลา 4 วัน เพื่อเตือนถึงกองทัพสมาพันธ์ที่กำลังมาที่นี่ภายในหนึ่งสัปดาห์ มุฮัมหมัดจึงเรียกชาวมะดีนะฮ์เพื่อหาความคิดที่ดีที่สุดในการสู้รบ โดยมีผู้เสนอดังนี้
  • สู้รบต่อหน้าฝ่ายศัตรู (เหมือนกับสงครามบะดัร)
  • รอพวกเขามาถึงเมือง (บทเรียนจากสงครามอุฮุด)
แต่ความคิดที่ยอมรับมากที่สุดคือ การขุดคูบริเวณทางตอนเหนือของมะดีนะฮ์ที่เสนอโดยซัลมาน ฟารซี โดยที่ชาวมุสลิมในมะดีนะฮ์ขุดคูเสร็จภายใน 6 วัน โดยขุดทางตอนเหนือเท่านั้น ส่วนฝั่งอื่นของมะดีนะฮ์ถูกล้อมรอบโดยภูเขาหินและต้นไม้ ทำให้กองทัพขนาดใหญ่ (โดยเฉพาะทหารม้า) ไม่สามารถผ่านได้ ผู้หญิงและเด็กทุกคนถูกย้ายเข้าไปในตัวเมืองชั้นในให้หมด พร้อมกับเก็บเกี่ยวพืชผลก่อนถึงฤดูเก็บเกี่ยว เพื่อให้ฝ่ายสมาพันธ์ใช้แต่เสบียงของพวกเขาเท่านั้น
มุฮัมหมัดได้ตั้งทหารประจำที่ภูเขาซาละอ์พื่อสกัดศัตรูที่กระโดดข้างสนามเพลาะ
สุดท้าย กองทัพที่ปกป้องเมืองมะดีนะฮ์มีอยู่ 3,000 นาย โดยรวมถึงชาวเมืองในมะดีนะฮ์ที่มีอายุมากกว่า 14 ปี ยกเว้นเผ่าบนูกุร็อยเซาะฮ์ (เพราะพวกเขาจัดหาเครื่องมือให้กับชาวมุสลิมในการขุดร่อง)
โฆษณา