31 ส.ค. 2022 เวลา 16:25 • ประวัติศาสตร์
ช่องเขาขาดช่องเขาค้อนและสิ่วคือช่องเขาที่ถูกเจาะด้วยนิ้วมือของมนุษย์ที่มีเพียงฆ้อนและสิวเพื่อสร้างทางรถไฟสายมรณะในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 วันนี้เราจะย้อนอดีตไปดูเรื่องราวประวัติศาสตร์ของที่นี่กันครับ
ภายหลังจากที่ญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกในประเทศไทยเมื่อวันที่ 8 ธันวาคมพุทธศักราช 2484 แล้วจากนั้นญี่ปุ่นก็เคลื่อนทัพผ่านประเทศไทยเพื่อมุ่งหน้าสู่พม่าพร้อมกับทำการสร้างทางรถไฟเพื่อใช้ในการส่งกำลังบำรุงและลำเลียงพลจากประเทศไทยเข้าไปยังพม่าอันเป็นต้นกำเนิดของเส้นทางรถไฟสายมรณะที่เป็นที่รู้จักกันไปทั่วโลกนั่นเอง
รายงานที่ใช้ในการก่อสร้างเส้นทางรถไฟซึ่งจะต้องผ่านป่าดงดิบภูเขาและแม่น้ำเป็นระยะทางถึง 415 กิโลเมตรมุ่งหน้าสู่ชายแดนไทยพม่านั้นญี่ปุ่นใช้แรงงานทั้งจากเชลยศึกสัมพันธ์พาณิชย์เช่นอังกฤษเนเธอร์แลนด์ออสเตรเลียนิวซีแลนด์สหรัฐอเมริกาผสมผสานกับแรงงานท้องถิ่นชาวเอเชียประมาณ 2 แสนกว่าคนทั้งไทยจีนมาเลย์ชวาพม่าทมิฬแรงงานท้องถิ่นนี้ญี่ปุ่นเรียกว่าโรมูชา
ช่องเขาขาดอยู่ห่างออกไปจากตัวเมืองจังหวัดกาญจนบุรีประมาณ 80 กิโลเมตรเชลยศึกส่วนใหญ่ถูกส่งมาโดยทางรถไฟและลงจากรถไฟที่บริเวณสถานีรถไฟบ้านโป่งก่อนที่จะเดินแถวจากบ้านโป่งผ่านจังหวัดกาญจนบุรีมายังช่องเขาขาดแห่งนี้พวกเขาต้องเผชิญกับความโหดร้ายจากโรคภัยไข้เจ็บนานาชนิดรวมทั้งบาดเจ็บจากการกระทำทารุณของทหารญี่ปุ่นซึ่งเป็นผู้คุม
ช่องเขาขาดตั้งอยู่ริมหน้าผาใกล้แม่น้ำแควในพื้นที่อำเภอไทรโยคญี่ปุ่นเรียกว่าช่องคอนชูส่วนเราเชลยศึกเรียกว่า help my pass แปลเป็นไทยว่าช่องไฟนรกดังที่เชลยศึกคนหนึ่งได้บรรยายถึงการเจาะช่องเขาในเวลากลางคืนที่มืดมิดจะมีก็จะเพียงแสงไฟและคบเพลิงที่ทหารญี่ปุ่นจุดขึ้นเขาบรรยายว่าถ้าคุณยืนอยู่ด้านบนสุดของช่องเขาและมองลงมาจะเห็นกองไฟลุกโชนอยู่เป็นระยะๆห่างกันประมาณ 6 เมตรแสงไฟเหล่านั้นทำให้เกิดเงาทะลึ่งของพวกทหารญี่ปุ่นที่กำลังเดินไปเดินมาเงาของพวกเขาถ้าไปบนช่องเขามันดูราวกับปีศาจในขุมนรก
1
ทหารญี่ปุ่นใช้ไม้เขียนตีบรรดาเชลยศึกที่กำลังตอบสกัดภูเขาทั้งลูกให้คานออกจากกันด้วยค้อนและสิ่วเฉลยศึกบางส่วนคอยเก็บกวาดเศษหินที่แหลมคมออกไปเสียงฆ้องที่ตอกลงบนสิวน้ำพันๆอันดังระงมกึกก้องทั่วทั้งขุนเขาอันมืดสนิทสลับกับเสียงทั้งครอบครัวคำรามของทหารญี่ปุ่นที่ตะโกนว่า speedo แต่ถึงแม้จะอยู่ในภาวะคับขันยังไงพวกเราก็ยังอดตั้งฉายาให้กับพวกทหารญี่ปุ่นพวกนี้ไม่ได้เช่นไอ้หน้าเด็กไอ้หน้าโง่หรือไอ้เตี้ยเป็นต้น
สิ่งที่พวกเรากลัวที่สุดเคยได้รับคำสั่งให้ไปตัดต้นไผ่ที่ขึ้นคลุมอยู่ตามทางเต็มไปหมดไม้ไผ่และหนามที่แหลมคมจะคอยกรีดเนื้อของพวกเราให้เป็นแผลและในป่าเขาเช่นนี้หากคุณเป็นแผลเพียงเล็กน้อยเมื่อขาดการดูแลมันจะอักเสบติดเชื้อและลุกลามจนทำให้เสียชีวิตได้นี่คือบันทึกความโหดร้ายของการสร้างทางรถไฟในช่องเขาขาดจากเชลยศึกผู้หนึ่งความโหดร้าย
1
ตูนไม่ได้เกิดขึ้นจากผู้คุมญี่ปุ่นและการทำงานที่หนักหนาสาหัสเท่านั้นหากแต่ยังเกิดขึ้นจากการเดินทางจากค่ายพักคนงานเข้าไปยังบริเวณจุดก่อสร้างวันละหลายกิโลเมตรเป็นการเดินทางด้วยเท้าเปล่าบนเศษหินที่แหลมคมเพราะถูกสกัดออกมาหรือไม่ก็ถูกระเบิดที่ทหารญี่ปุ่นวางไว้เพื่อเจาะภูเขาส่วนเฉลยศึกไม่มีเครื่องมืออื่นใดเลยนอกจากค้อนและสิ่ว
การเจาะช่องเขาขาดนี้เริ่มต้นในช่วงเดือนพฤศจิกายนพุทธศักราช 2485 โดยอาศัยเชลยศึกอังกฤษประมาณ 1,500 นายและแรงงานชาวทมิฬประมาณ 2,000 คนก่อนที่เชลยศึกจากออสเตรเลียและนิวซีแลนด์จะเดินทางเข้ามาถึงอีกประมาณ 400 นายและเริ่มทำงานที่ช่องเขาขาดนี้ในวันทหารผ่านศึกออสเตรเลียและนิวซีแลนด์หรือ one and คือวันที่ 25 เมษายนพุทธศักราช 2486
เฉลยศึกต้องทำการถากถางปู่ย่าและต้นไผ่เพื่อทำพื้นดินให้โล่งเทียมจากนั้นก็จะเปิดหน้าดินทำการขุดเจาะเลือดแบ่งออกเป็น 2 ส่วนส่วนแรกมีระยะทางที่สั้นกว่าคือมีความยาวเพียง 73 เมตรลึกประมาณ 25 เมตรส่วนที่ 2 ยาว 450 เมตรและลึก 8 เมตรถ้างั้นขุดเจาะดำเนินต่อไปจนถึงเดือนมิถุนายนก็คือมาช้ากว่ากำหนด
และที่ช่องเขาขาดก็กลายเป็นจุกจิกขาสำคัญที่ทำให้การก่อสร้างเส้นทางรถไฟล่าช้าไปทั้งสายญี่ปุ่นจึงนำเชลซีมาเพิ่มอีก 600 นายมีทั้งเช้าอังกฤษและออสเตรเลียผสมกับแรงงานชาวพื้นถิ่นอีกประมาณ 1,000 คนเป็นที่น่าสังเกตว่าเฉลยศึกที่ส่งมาช่วยนั้นส่วนหนึ่งมีสภาพร่างกายที่ย่ำแย่ทรุดโทรมมาจากการทำงานหนักก่อนหน้านี้แล้วแต่รายงานทั้งหมดก็เร่งทำการขุดเจาะด้านข้างของภูเขา
เพื่อสร้างพื้นเรียบสำหรับวางหินไม้หมอนและรางรถไฟความลึกของการขุดเจาะนี้ถูกกำหนดขึ้นโดยอาศัยขีดความสามารถของหัวรถจักรในการเคลื่อนที่บนทางลาดชันเป็นหลักดังนั้นจึงต้องไม่ให้มีความลาดชันมากเพื่อสะดวกต่อการเคลื่อนที่ของขบวนรถไฟ
การเจาะช่องเขาขาดนั้นนอกจากจะใช้แรงงานเชลยศึกแล้วทหารญี่ปุ่นยังทำการเจาะด้วยระเบิดแรงสูงสัมพันธมิตรคนหนึ่งบันทึกไว้ว่าเมื่อเราใช้ค้อนและสิ่วเจาะลงไปได้ระยะหนึ่งทหารญี่ปุ่นก็จะนำระเบิดมายัดใส่ในช่องหลังจากนั้นทุกคนก็จะหลบเข้าที่กำลังให้ไกลเพื่อให้พ้นจากแรงระเบิดกระจายไปทั่วภูเขามีหลายครั้งที่เฉลยศึกได้รับบาดเจ็บจากเศษหินเล็กๆที่กระเด็นมาจากการระเบิด
ทำให้ผิวหนังและดวงตาเป็นบาดแผลแม้แต่บาดแผลเล็กๆที่เกิดขึ้นแต่ด้วยความขาดแคลนยารักษาโรคเชื้อโรคที่อยู่รอบข้างคุณภาพอาหารที่ย่ำแย่บาดแผลเล็กๆเหล่านั้นก็อาจจะติดเชื้อและกลายเป็นโรคแพ้ปากหมูที่ส่งผลถึงการเสียชีวิตได้หลังจากการระเบิดเสร็จสิ้นลงก็ถึงงานที่ไม่มีใครอยากจะทำ
นั่นคือเฉลยศึกจะต้องเข้าไปเคลียร์เศษหินที่แหลมคมจัดการระเบิดโดยที่ไม่มีรองเท้าสวมใส่พวกเราหลายคนถูกหินแหลมคมบาดจนเป็นแผลเว่อร์ว่ะมีการประมาณการว่าการขุดช่องเขาต่างๆในบริเวณนี้มีการขนย้ายหินประมาณ 3 ล้านลูกบาศก์เมตรซึ่งหินส่วนใหญ่ที่ขนออกไปจะนำไปถมตามขอบหน้าผาหรือตามแนวทางรถไฟเพื่อรักษาความลาดชันของเส้นทางรถไฟภาพนี้ชื่อแม่น้ำที่ช่องของอยู่ว่าโดยพากินในช่วงปีพุทธศักราช 2486
รีพากินสร้างงานศิลปะจำนวนหนึ่งระหว่างที่ตกเป็นเชลยศึกในการสร้างทางรถไฟสายมรณะแห่งนี้ในภาพจะเห็นแม่น้ำแควและภูเขาลูกหนึ่งตั้งตระหนักมองเห็นได้ชัดเจนจากช่องเขาขาดปัจจุบันเขาลูกดังกล่าวก็ยังคงตั้งพลังงานอยู่ไม่แตกต่างไปจากเมื่อ 80 ปีก่อน
หรือจากช่องเขาขาดไปไม่ไกลนักนี่คือช่องเขาค้อนและสิ่วหรือแฮมเมอร์แอนแคปคันจริงการเจาะช่องเขานี้เต็มไปด้วยความเหนื่อยยากเช่นเดียวกันคนหนึ่งถือค้อนตอกลงไปบนสิวกลิ่นคือหนึ่งในเชลยศึกที่ปฏิบัติงานที่นี่บันทึกไว้ว่าเรามีกลุ่มหนึ่งที่เรียกว่าพวกคู่หูค้อนกับสิ่ว
คนหนึ่งจะถือแท่งเหล็กปลายแหลมอีกคนหนึ่งจะถือค้อนหนัก 7 ปอนด์คนที่ถือแท่งเหล็กจะคอยจับแท่งเหล็กไว้ส่วนคนที่ถือค้อนจะทุบมันลงไปคุณรู้ไหมเราใช้แท่งเหล็กนี้เจาะหินจนเป็นโพรงลึกแล้วทหารญี่ปุ่นก็จะเอาดินระเบิดมายัดใส่ในโพรงแล้วระเบิดมันจากนั้นพวกเราก็จะขนเศษหินไปทิ้งโดยมีเพียงกระสอบป่านและไม้ไผ่ 2 ลำสอดเข้าด้านข้างของกระสอบไม่มีแม้กระทั่งรถเข็นมันเป็นสิ่งที่เหลือเชื่อแต่เราก็ทำกันได้
1
ความโหดร้ายของการทำงานที่นี่คือความผิดพลาดของคู่หูค้อนกับสิวเพราะพวกเขาทำงานทั้งวันทั้งคืนโดยแบ่งเป็น 2 กะกะร่างประมาณ 12-18 ชั่วโมงพวกเขาทำงานทุกวันไม่มีเวลาพักผ่อนร่างกายอ่อนเพลียขาดอาหารทำให้บางครั้งเชลยศึกบางคนใช้ค้อนตอกพลาดลงไปบนมือของเพื่อนที่ถือสิวน้ำหนักของค้อนหนัก 7 ปอนด์ที่เหวี่ยงพลาดลงมามักทำให้นิ้วมือนิ้วมือของเพื่อนหักกลายเป็นบาดแผลฉกรรจ์และเมื่อแผลติดเชื้อจุดจบของพวกเขาก็คาดเดาได้ไม่ยาก
ตลอดเส้นทาง 415 กิโลเมตรของทางรถไฟสายมรณะมีสะพานรวมความยาว 14 กิโลเมตรส่วนใหญ่เป็นสะพานไม้ค้ำที่สร้างจากต้นไม้แต่ก็มีสะพานใหญ่ถึง 8 แห่ง
ที่สร้างด้วยเหล็กและคอนกรีตการสร้างสะพานเป็นงานที่เสี่ยงอันตรายมากพวกเชลยศึกและรายงานท้องถิ่นถูกไม้สูงทำหรือไม่ก็จมหายไปในแม่น้ำแคว้นเขี้ยวกราดต้นไผ่ที่มีให้เห็นอยู่ทั่วไปนั้นไม่ได้มีแต่โทษที่คอยสร้างบาดแผลให้กับเราเชลยศึกเท่านั้นต้นไผ่ยังเป็นแหล่งกำเนิดของวัสดุอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆมันถูกดัดแปลงให้เป็นเฝือกการดัดแปลงเหล่านี้ก็เพื่อพยายามดำรงรักษาชีวิตของพวกเขาให้มีชีวิตอยู่รอดต่อไปนั่นเองภายหลังจากสงครามสิ้นสุดลงทหารญี่ปุ่น
ที่ปฏิบัติงานในการก่อสร้างเส้นทางรถไฟจำนวนมากถูกจับและดำเนินคดีในข้อหาอาชญากรสงครามและมีจำนวนกว่า 100 นายถูกตัดสินประหารชีวิตด้วยการยิงเป้าและแขวนคอ
เรื่องราวของทางรถไฟสายมรณะได้จางหายไปภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงพื้นที่เกษตรกรรมบ้านเรือนป่าทึบและเขื่อนเก็บน้ำขนาดใหญ่ได้เข้ามาครอบคลุมปกปิดพื้นที่เส้นทางประวัติศาสตร์สายนี้จนกระทั่งในปีพุทธศักราช 2528 อดีตเชลยศึกได้รวมตัวกันขึ้นด้วยเงินสนับสนุนจากรัฐบาลออสเตรเลียเพื่อเข้ามาทำการอนุรักษ์พื้นที่เส้นทางรถไฟสายมรณะโดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณพื้นที่ช่องเขาขาดแห่งนี้ให้กลายเป็นอนุสรณ์แห่งความกล้าหาญและความเสียสละของเหล่าเชลยศึกในการก่อสร้างเส้นทางรถไฟสายมรณะในครั้งนั้น
พิมพ์ตกหรือข้อมูลไม่ตรง
แนะนำติชมมาได้ครับผมพร้อมแข้ไขและปรับปรุง
ขอบคุณครับ
โฆษณา