3 ก.ย. 2022 เวลา 06:30 • ประวัติศาสตร์
5 สมรภูมิในอิรักตอนที่ 1
 
สงครามในอิรักนับเป็นสงครามที่ยืดเยื้อและยาวนานจนกระทั่งกลายเป็นปลักตมแห่งสงครามของสหรัฐอเมริกาไม่แตกต่างไปจากสงครามในเวียดนามวันนี้เราจะมาดู 5 สมรภูมิโหดของสงครามในอิรักสำหรับทหารสหรัฐอเมริกากันครับ
สมรภูมิที่ดุเดือดพล่านที่สุดแห่งหนึ่งในสงครามในอิรักของสหรัฐอเมริกาก็คือสมรภูมิที่เมืองนาสิริยาอยู่ที่บางครั้งออกเสียงว่านาซารีญาการรบที่เมืองนี้นับเป็นการรบครั้งแรกๆที่มีความรุนแรงและมีความสูญเสียมากที่สุดครั้งหนึ่งของทหารสหรัฐในยุทธการสันติภาพแห่งรักหรือ operation euro freedom
การรบที่เมืองนาสิริยาซึ่งเป็นที่ตั้งของกองบัญชาการระดับภูมิภาคของกองทัพอิรักของอดีตประธานาธิบดีซัดดัมเมืองหลวงของอิรักการรบเปิดฉากขึ้นเมื่อวันที่ 23 เมื่อขบวนรถคอนวอยของสหรัฐจำนวน 18 คันจากกองร้อยซ่อมบำรุงที่ 507 ที่เลี้ยวผิดเส้นทางบนถนนไฮเวย์สายที่ 7 ทำให้จำต้องแล่นผ่านกลางใจเมืองได้ถูกซุ่มโจมตีอย่างรุนแรงจากอาวุธนานาชนิดและทำให้ทหารสหรัฐเสียชีวิต 11 นาย
ถูกจับเป็นเชลยจำนวน 6 นายซึ่งรวมถึงพลทหารหญิงเจสสิก้าลินส์ซึ่งต่อมาได้รับการช่วยเหลือและได้รับยกย่องให้เป็นสัญลักษณ์แห่งการต่อสู้ของทหารหญิงสหรัฐในอิรักการซุ่มโจมตีที่รุนแรงทำให้ยานพาหนะถูกทำลายทั้งหมดถึง 15 คันการรบและช่วยเหลือเชลยเพื่อยึดเมืองนาสิริยาเริ่มต้นอีกครั้งในวันเดียวกันเมื่อกองพลน้อยภาคโพ้นทะเลที่2 เคลื่อนที่เข้าตีทหารอิรักภายในตัวเมืองและจากทางตอนเหนือก่อนที่จะพบกับการต้านทานด้วยระเบิดแสวงเครื่อง
ที่วางดักไว้ริมถนนและบริเวณริมคลองซัดดัมนอกจากนี้ยังมีรถถังแบบ t69 ของกองพลยานเกราะที่ 6 ของอดีตประธานาธิบดีซัดดัมรวมอยู่ด้วยการสู้รบเป็นไปอย่างดุเดือดทำให้ทหารนาวิกโยธินของสหรัฐเสียชีวิตเพิ่มขึ้นอีก 18 นาย อย่างไรก็ตามในคืนของวันที่ 24-25 มีนาคมนาวิกโยธินของสหรัฐก็สามารถลุกเข้าสู่บริเวณตัวเมืองได้ท่ามกลางการต้านทานอย่างเหนียวแน่นของอดีตทหารอิรักของประธานาธิบดีซัดดัม
การสู้รบที่เมืองนาสิริยาดำเนินต่อไปจนถึงวันที่ 27 มีนาคมก่อนที่กองกำลังทหารอิรักจะถูกกวาดล้างลงอย่างสิ้นเชิงโดยทิ้งซากศพไว้จำนวน 431 ศพถูกจับเป็นเฉลยก็ 300 นายและบาดเจ็บอีกกว่าหนึ่งพันนาย
สมรภูมิโหดแห่งที่ 2 ในอิรักของทหารสหรัฐก็คือสมรภูมิเมืองฟารูจาเป็นเมืองซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันตกของกรุงแบกแดดประมาณ 40 ไมค์การรบที่นี่เป็นการรบที่นองเลือดที่สุดอีกครั้ง1 ของอิรักการปะทะกันเปิดฉากขึ้นเมื่อเวลาประมาณ 19:00 น ของวันที่ 7 พฤศจิกายนคริสตศักราช 2004โดยกำลังของสหรัฐอเมริกาประกอบด้วยทหารนาวิกโยธินและทหารจากกองทัพบกสนธิกำลังเข้าโจมตีมีกำลังมากกว่า 15,000 นายสนับสนุนด้วยอากาศยานและยานเกราะเคลื่อนที่เข้าโจมตีฐานที่มั่นของกลุ่มต่อต้านที่มีกำลังพลประมาณ 4,000-5,000 นายนำโดยอับดุลรา อาวจานาบี
การรบที่เมืองฟารูจาเต็มไปด้วยความยากลำบากเนื่องจากกลุ่มต่อต้านอาศัยอาคารต่างๆเป็นที่หมั้นตามหลักการรบในเมืองทำให้ฝ่ายป้องกันมีความได้เปรียบอย่างมากทหารสหรัฐต้องการกวาดล้างจากห้องหนึ่ง ไปสู่อีกห้องหนึ่งจากอาคารหนึ่ง ไปสู่อีกอาคารหนึ่งจากถนนสาย 1 ไปยังถนนอีกสายหนึ่ง
นอกจากนี้กลุ่มต่อต้านยังใช้อุโมงค์ที่มีอยู่รอบตัวเมืองเป็นเส้นทางในการส่งกำลังบำรุงและรอบเข้าโจมตีซุ่มโจมตีทหารสหรัฐอยู่เนืองๆหลายครั้งที่การสู้รบเป็นไปแบบประชิดตัวในที่สุดสหรัฐก็ตัดสินใจใช้รถถังแบบ m1 ยิงทำลายอาคารที่ต้องสงสัยว่าเป็นที่มั่นของฝ่ายต่อต้านทีละอาคารจนหมดสิ้น
แม้ว่ากลุ่มต่อต้านจะพยายามต้านทานอย่างเหนียวแน่นเพียงใดก็ตามในวันที่ 16 พฤศจิกายนเมืองฟารูจาก็ตกเป็นของสหรัฐอย่างสมบูรณ์การรบในครั้งนี้มีทหารสหรัฐเสียชีวิต 51 นายบาดเจ็บสาหัส 425 นายฝ่ายต่อต้านของอิรักเสียชีวิตประมาณ 1,300 คนผลจากความพ่ายแพ้ในครั้งนี้ทำให้ฝ่ายต่อต้านเลิกใช้ยุทธวิธีการรบในแบบเพื่อทำการปะทะแบบซึ่งทหารสหรัฐและหันไปใช้การโจมตีในลักษณะสงครามกองโจรแทนส่งผลให้เมืองฟารูจา
กลายเป็นเมืองที่ฝ่ายต่อต้านมีการปฏิบัติการก่อการร้ายมากที่สุดเมืองหนึ่งตลอดการยึดครองของสหรัฐอเมริกา
โฆษณา