9 ชั่วโมงที่แล้ว • ปรัชญา
เรื่องของการปล่อยวาง เรามาดูที่กาย ที่ว่าเกิดแก่เจ็บตาย นั้นเป็นอย่างไร เราก็ไปดูคนตาย กายนิ่ง ตัวแข็ง .เอาละตอนนี้เรายังไม่ตาย เรานั่งนิ่งๆ ทำตัวแข็งๆ เหมือนคนตาย เอายังมีลมอยู่ เข้าออก เราก็ทำเฉย .เค้สว่าคนตาย นึกคิดอะไรไม่ได้ ไม่มีอารมณ์นึกคิด .ก็อยู่เฉยๆ ทำกายให้นิ่งไปเลย จิตก็นิ่งไปตามกาย..นิ่งไป เจ็บปวด ก็ทน เค้าว่า คนจะตาย มันเจ็บปวดทุกข์ทรมาน เราก็นั่งกายนิ่ง จิตนิ่ง..มันเจ็บปวดทุกข์ทรมาน อ้อ…จ้ตจะออกตากกายแล้วๆ ปล่อยวางเสียที จิตออกต่กกายได้ ไม่มีกาย ก็ปล่อยวางได้ ไม่มีกาย ไม่มีอารมณ์
นั่นก็เป็นเรือ่งหนึ่ง ที่เค้าเรียกว่า เอกัคตาจิต .มันเกิดขึ้น เหมือนไม่มีกาย กายนั้นหานไปเลย นั่นก็เป็นเรื่องราวของสมาธิ
พอเราได้ สมาธิ รู้จัก คำว่า เอกัคตาจิต จิตที่ไม่มีอะไรปรุงแต่ง ไม่มีอารมณ์ได้ เราก็อาศัยคำว่า จิตเป็นหนึ่ง นั่นมาเรียนรู้จัดอารมณ์ ปลดเปลื้องอารมณ์ออกไป ปลดเปลื้องอารมณ์กรรม ถามว่า เรารู้จักอารมณ์เราได้หรือไม่ ที่จะปลดเปลื้องอารมณ์นั้นไป หากไม่รู้อารมณ์ แล้วเราจะปลดเปลื้อง อารมณ์นั้รไปได้อย่างไร บางที่อารมณกับจิต มันรวมตัวกัเหมือนน้ำในแก้วใบเดียว กายนั้น เหมือนแก้ว ขยะดินโคลน ก็อยู่ในแก้ว มีนำ้ในแก้ว ก็เหมืิอนจิต ที่ว่าจิตนั้นคลุกโคลนตม แล้วเราจะปลดปล่อยขยยะโคลนออกจากแก้ว จะค้องทำอย่างไรบ้าง
แค่ของที่อยู่ใต้ปิวหนังลงไป ตาเราก็มองไม่เห็น แล้วเราจะไปเห็นอารมณ์ในกายได้อย่าง ที่จะไปปลดปล่อยเค้าไป ปล่อยวางข้างนอกมันง่าย ปล่ิยวางข้างใน จะเอาอะไรมาปล่อยวาง
แล้วเรื่องราวหนึ่ง ที่ไปทำในป่า ไปอยู่ท่านกลางดินฟ้าอากาศ ท่านก็ไปทำกายนิ่ง จิตนิ่ง ปล่อยวาง ..ละลาย สีต่างๆ ภายในกาย ในธาตุทั้งสี ละลายไปให้หมด ให้ธาตุนั้นบริสุทธิ์ ปลดเปลื้องออกไปให้หมด จดกายนั้นเป็นแก่วเจียระไน ท่านใช่จิต ที่มีแสงรัตนะ ส่องแสงลงไปที่ธาตุทั้งสี ธาตุทั้งสี่ ก็แประสภาพ ของสิ่งทีเกิดขึ้น แทีไหลออกมา เป็นอารมณ์กรรม ตัวกระทำต่างๆ แล้วก็ใช้แสงรัตนะ ของจิต ที่นิ่ง ละลาย สิ่งที่ไหลออก ..จนสิ่งที่ไหลออกมา ไม่มีอะไรให้ไหลออกมาอี ปล่อยวางจนจิตนั้น ไม่มีอะไรทำให้เกิด ยุติการเกิด..
ที่ว่า ปล่อยวาง ทำได้จริงหรือ เพราะ จิตนั้น ก็ยังไม่รู้จักจิตตัวเอง ไม่รู้สิ่งที่จิตอาศัย นั่นเป็นอารมณ์ไดยตลอด ..มีเวลาไหนบ้าง ที่จิตเป็นหนึ่ง ไม่มีอารมณ์ .
โฆษณา