ความคิดเห็นบนคำถาม

ทำไม ผมมีความรู้สึกว่า ยิ่งประเทศไทยเข้าสู่ สังคมสูงอายุ นานเท่าไหร่ แนวโน้มในประเทศด้านต่างๆ ยิ่งแย่ลงไปเรื่อยๆ ?
14 ก.ค. 2023 เวลา 04:29 • ความคิดเห็น • 14 คำตอบ
ถามกว้างๆครับ
คำตอบ (14)
  • สุดยอดคำตอบ
    แปลว่าคนรุ่นใหม่ไม่ได้เรื่องหรอ ถึงมีแต่กำลังคนแก่ ที่ถดถอยกำลังพัฒนาประเทศ
    อีกหน่อยก็เหมือนญี่ปุ่นในตอนนี้ ไม่ได้รุ่งโจรน์ดังเก่า
    ในยุคที่ญี่ปุ่นรุ่งเรือง 20-30ปีที่แล้ว มันคือ คนที่แก่แล้วในปัจจุบัน...
  • เราลองไปดูสถิติ ตัวเลข ประชากรไทย ตามวัย https://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statMONTH/statmonth/#/displayData ดู เอาแค่เด็กที่เกิดใหม่ กับ คนแก่ ในอีก สิบยี่สิบปีข้างหนัา แล้วนึกภาพดู ..เรื่องสถานที่ศึกษา เมื่อก่อนก็มีเด็กเกิดมาร่วมล้านคน ตอนนี้เกิดมาแค่ห้าแสน เราว่าอาชีพค...
  • ผมไม่ได้เชื่อสิ่งที่ผมตอบนะครับ เพราะผมไม่ได้เชื่อในคำถามแต่แรก
    แต่ถ้าสถานการณ์ในคำถามเป็นจริง ข้อสรุปของผมก็คือคนที่มีสติปัญญา ทำงานละเอียดรอบคอบ รู้รอบรู้ลึกรู้จริง แก่และเกษียณอายุงานกันหมด ส่วนคนใหม่ ๆ ที่เข้ามาทำแทน ขาดความรู้รอบ ขาดความรอบคอบและมักง่าย อะไร ๆ ที่ทำแทน...
  • บทเรียนในประวัติศาสตร์ กรุงศรีแตกเพราะคนในชาติทะเลาะกัน ลองไปศึกษาให้ละเอียดดุ
  • ในความคิดเห็นส่วนตัว ผมมองว่า ทางเศรษฐกิจประเทศพัฒนามาไกลและยังไปได้อีก แต่ทางสังคมเราแย่ลง คนในสังคมเห็นแก่ตัวมากขึ้น ความมีน้ำใจน้อยลง สนใจแต่ตัวเอง
  • อย่าคิดเช่นนั้นเลยครับ เพราะว่าทุกอย่างมีสองด้านเสมอ เมื่อมีผู้สูงวัยก็ย่อมมีผู้อ่อนวัย คงจะดีถ้าเป็นส่วนผสมที่ลงตัว มีความมากก็ต้องมีความน้อย น่าจะทำให้ทุกอย่างไปได้ด้วยดี ถ้าเราไม่ยึดถือในสิ่งไหนมากเกินไปหรือน้อยเกินไป ฝากหาความสมดุลย์
  • เป็นทุกที่ ไม่ใช่แค่เฉพาะประเทศไทย เหตุผลง่ายๆ คนทำงานน้อยลง คนที่ต้องหาเลี้ยงมากขึ้น ให้สวัสติการคนแก่มากๆ คนรุ่นใหม่นั่นแหละจะลำบาก
  • ไหนเล่ามาจิ
  • ตอบเรื่อยเปื่อย เพราะอย่างนี้แดนสนธยาจึงต้องมีนายกคนหนุ่มมาแก้ปัญหาคนแก่ จะให้คนแก่ที่ไม่เคยมีนาฬิกาแล้วไปยืมเพื่อนมาแก้ปัญหาคนแก่ที่ใส่นาฬิกา ทั้งที่ปัญหาของตัวเองจัดการไม่ได้ Farewell to the Twilight zone
  • ปกตินะ มีดี-มีแย่ ตามวัฎจักรของการพึ่งแรงขับเคลื่อนด้วยคน
    เหตุต่างๆ ล้วนเพราะโลกเจริญมากเกินไป ทำให้ความคิดของคนเก่ง-คนรุ่นใหม่ วิ่งหาความต้องการมีคุณภาพชีวิตอิงวัตถุ เกิดสมองไหล มีความคิดสุขนิยมเฉพาะตัว ตัดภาระการผลิตประชากร ...... อ่านต่อ