17 มี.ค. เวลา 17:13 • ปรัชญา
เรื่องราวของจิตกับอารมณ์ ปกติจิตของคนเรามันอ่อนต่ออารมณ์ แล้วก็อยู่ใต้อำนาจของอารมณ์ ที่สั่งจิตให้กระทำสิ่งนั้นสิ่งนี้ อารมณ์พาไปยึดวัตถุสิ่งของทั้งที่มีชีวิตไม่มีชีวิต เมื่อสิ่งที่ยึดถือนั้น พลัดพรากหายไป ก็เสียใจ เศร้าโลก พร่ำเพ้อ รำพึงรำพัน ร้องห่มร้องไห้ มันเป็นอารมณ์นึกคิดที่ปรุงแต่ง
แต่เราก็ไม่รู้ว่า เราจะทำจิตทำใจ ได้มั้ย ก็ต้องตอนที่มีเหตุ เข้ามา เหมือนเข้าทดสอบจิตว่า อารมณ์นี้มาปกคลุมกายแล้วนั้น ความเจ็บปวดเกิดขึ้นก็เป็นอารมณ์ ความเสียอกเสียใจ โศกเศร้าง่อยเหงาก็เป็นอารมณ์ที่เกิดขึ้นชั่วขณะหนึ่ง
หากจิตเรา ได้ฝึกหัดมา ..จิตของเรามีกำลัง เมื่อมีเหตุ ที่ทำให้เกิดอารมณ์โศกเศร้า จิตที่เราเคยฝึกมา จิตมีกำลัว มีสติสัมปชัญญะของจิต สติของจิตเกิดขึ้นมาได้ เราก็สามารถ..ที่จะรักษาจิตของเราได้ คือ นิ่งเฉยต่ออารมณ์ที่เกิดขึ้น เฉพาะหน้าได้ คือ รักษาจิตของเรา โยเป็นปกติได้ อารมณ์โศกเศร้าก็ไม่เข้ามาในจ้ตในใน นั่นเป็นเรื่องของจิตที่สะสมบุญกุศลบารมมาดี
ส่วนเรานั้น สติที่เราใช้อยู่ มันยังเป็นสติของอารมณ์ เราก็ต้องฝึกให้ตัวเราเอง จิตรู้จักสต้ของจิต ที่จะรู้จักอารมณ์ที่ไหลเข้ามา เราก็ทำจิตทำใจ ต้านอารมณ์ที่มันเกิดขึ้นมามาได้ หรือปลดเปลื้องอารมณ์ สลัดอารมณ์นั้นทิ้งไปได้ เหมือนว่า มีอารมณ์อะไรเค้ามา สติของจิตก็ทำงาน เตือนจิตให้รู้ ว่ามีสิ่งของสกปรกเข้ามาสู่จิต จิตรับรู้เท่าอารมณ์ที่เไหลเข้ามา เกิดขึ้นที่กาย จิตก็อ่านออก เห็นว่าอารมณ์นั้นมันคือกรรม คือทุกข์ จิตนั้นก็ปัดิออกสลัดทิ้งไป
เค้าจึงให้เรา หมั่นเพียร สร้างบุญกุศลบารมี ปฏิบัติธรรมให้เกิดขึ้น เพื่อให้จิตนั่นปลดเปลื้องอารมณ์ออกไป
วิธีที่ดีที่สุด คือฝึกหัดปฏิบัติธรรมไป ให้เกิดสติของจิตเกิดขึ้น แล้วจิตก็ตัดอารมณ์นั้นออกไป เค้าตัดออกไปในขณะที่อารมณ์มันเกิดขึ้น แล้วสิ่งที่ช่วยเราได้ ให้จิตสลัดอารมณ์นั่นไปได้ จิตก็ต้องฝึกหัดปฏิบัติขึ้น มา มันจะทำให้จิตเรา มันมีกำลัง ตัดอารมณ์นึ่นออกไป
 
วิธีที่ดี ..ก็ทำบุญใสบาคร ปฏิบัติธรรมให้เกิดขึ้น มีสติสัมปชัญญะเกิดมา เป็นสติของจิต จิตรู้จักว่าความโศกเศร้านั้นเป็นทุกข์ จิตก็จะตัดอารมณ์นั่นออกไปเอง ไม่ยึดอารมณ์นั้นเป็นจิต
อารมณ์นั้นก็คือกรรม คือทุกข์ .ตือกรรม แล้วเราจำไปยึดทำไม รู้ว่าทุกข์ก็ปลดเปลื้องออกไปซิ เพื่อทำให้กายเป็นปกติ จิตเป็นปกติ ไปจนถึง ..จิตไม่มีอารมณ์ นั้นเราก็ต้องฝึกหัดตัวเราเองขึ้นม
โฆษณา