28 พ.ย. 2019 เวลา 12:55 • สุขภาพ
นอนไม่หลับ
นอนไม่หลับ : โรคแห่งยุคสมัยในมุมมองแพทย์และนักจิตวิทยา | The 101 World https://www.the101.world/insomnia_ep-1/
สกู๊ปพิเศษ...อันตรายจากการ นอนไม่หลับ | Chiang Mai News https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/604483
แนะ 10 เคล็ดลับ ช่วยนอนหลับได้ดี - ข่าวประชาสัมพันธ์ทั่วไป - CM108.com ซีเอ็มร้อยแปดดอทคอม https://www.cm108.com/bbb/topic/6404-%E0%B9%81%E0%B8%99%E0%B8%B0-10-%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%94%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%9A-%E0%B8%8A%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%94%E0%B8%B5/
รายการชีวิตนี้ยังมีหวัง ตอน นอนไม่หลับทำอย่างไรดี 1/2 - YouTube https://m.youtube.com/watch?v=Unm8wXRgmSw
รายการชีวิตนี้ยังมีหวัง ตอน นอนไม่หลับทำอย่างไรดี 2/2 - YouTube https://m.youtube.com/watch?v=DR4ZF6KAH-o
มาวัดระดับปัญหานอนไม่หลับของเรากันเถอะ https://bkpho.moph.go.th/bungkanpho/index.php?page=article-view-detail&id=14
แบบทดสอบว่าคุณนอนหลับเพียงพอหรือไม่ / ดร.สุพาพร เทพยสุวรรณ https://mgronline.com/qol/detail/9590000011096
Insomnia Medications
a list of medications that are either approved by the FDA or are commonly used for the treatment of insomnia. Medications are most appropriate for short-term insomnia (i.e., several days or a few weeks) that has been triggered by an emotional or physical event. They should be used under the supervision of a clinician.
นอนไม่หลับ แมกนีเซียมช่วยได้
Magnesium also helps the body maintain levels of GABA (a.k.a., gamma-aminobutyric acid), a neurotransmitter that Dr. Winter notes is responsible for "turning off" wakefulness. Magnesium can also help the body's dopamine levels rise, which can improve your mood
Should You Use Magnesium For Sleep? - Natural Sleep Aids https://www.womenshealthmag.com/health/a26947301/magnesium-for-sleep/
6 Supplements That Can Help You Sleep Better, According To Experts https://www.bustle.com/p/6-supplements-that-can-help-you-sleep-better-according-to-experts-15545895
OTC Insomnia Supplements: The Latest Evidence https://www.medscape.com/viewarticle/910144
กรณีศึกษา "ยาหอมเทพจิตร ช่วยนอนหลับ"
หญิงวัยทอง อายุ 62 ปี
โรคประจำตัว: ความดันโลหิตสูง ไทรอยด์สูง
มีปัญหานอนหลับยาก รู้สึกเหมือนหลับไม่สนิท คล้ายๆ รู้สึกตัวตอนนอน ปกติจะมีตื่นมาเข้าห้องน้ำกลางดึก และหลับต่อไม่ได้
แพทย์แผนไทย อภัยภูเบศร จ่ายยายาหอมเทพจิตร รับประทานครั้งละ ครึ่งช้อนชา ชงน้ำร้อนครึ่งแก้ว จิบขณะอุ่นจนหมดก่อนเข้านอน
หลังใช้คืนแรก เห็นผลเรื่องการนอนหลับเร็วขึ้นและหลับสนิทขึ้น สามารถหลับยาวได้ถึงเช้า
ยาหอมเทพจิตร มีตัวยาปรุงผสมมากกว่า 30 ชนิด โดยตัวยาหลักจะเป็นเกสรดอกไม้และผิวส้มหลากชนิด ดอกไม้ที่มีมากสุดในตำรับคือ ดอกมะลิ ทำให้ดวงจิตชุ่มชื่น รสยาทางแผนไทยคือสุขม หอม
ช่วยระงับความเครียดและวิตกกังวล ช่วยให้จิตใจสงบและผ่อนคลาย
ตามปกติในเวลากลางคืน เป็นเวลาที่การทำงานของลมควรลดลง ในคนที่มีความเครียด หรือคนสูงวัยที่มักมีอาการนอนไม่หลับ ทางแผนไทยมองว่าเกิดจากการเคลื่อนไหวของลมเบื้องบน (ในหัว) ที่มากเกินไป ในเวลาที่ควรลดลง ลมเดินไม่สม่ำเสมอ สับสน
ยาหอมที่ประกอบด้วยดอกไม้หลายชนิด จะทำให้การเดินของลมเรียบ สม่ำเสมอ ช่วยทำให้นอนหลับได้ดีขึ้น
ยาหอมเทพจิตร ซึ่งมีส่วนประกอบของมะลิมากถึง 50 % ช่วยดึงลมจากด้านบนลงมา เคลื่อนไหวไปที่เท้ามากขึ้น ทำให้เท้าอุ่น เหมาะกับผู้ที่มีอาการนอนไม่หลับ และอาจมีเหงื่อออกที่หนังศรีษะ และเท้าเย็นร่วม
ปรับการทำงานของสุมนาวาตะ ให้กลับสู่สมดุลย์
**ผลลัพธ์การรักษาอาจแตกต่างกันเฉพาะบุคคล
น้ำมันรำข้าว...เมลาโทนินจากธรรมชาติ
เมื่อท้องฟ้าเริ่มมืด นาฬิกาชีวภาพในร่างกาย จะมีกลไกการหลั่งเมลาโทนิน จากต่อมไพเนียล ในสมอง ซึ่งได้รับการขนานนามจากนักปรัชญาว่าต่อมดังกล่าวเป็นดัง "ดวงตาที่ 3 "ของมนุษย์ เนื่องจากสามารถรับแสงได้เหมือนจอตา เพื่อควบคุมจังหวะการหลั่งของฮอร์โมนเมลาโทนิน
ปัจจุบันพบว่าเมลาโทนินสามารถใช้รักษาปัญหานอนไม่หลับในคนตาบอด งานวิจัยล่าสุดยังพบว่า นอกจากต่อมไพเนียลแล้ว เมลาโทนิน ยังหลั่งออกมาจากที่ดวงตาได้อีกด้วย
เมลาโทนิน มีบทบาทสำคัญในช่วงเริ่มต้นของการเข้านอน มีผลเหนี่ยวนำให้ร่างกายง่วงและนอนหลับ ปัจจุบันพบงานวิจัยมากมายของประโยชน์จากเมลาโทนิน โดยเฉพาะในศาสตร์ชะลอวัย หากการหลั่งเมลาโทนินมีปัญหา จะเป็นจุดตั้งต้นของการแก่ชราของเซลล์ในร่างกาย
น้ำมันรำข้าว มีสารออกฤทธิ์สำคัญ x 2 ที่ช่วยทำให้การนอนหลับดีขึ้น ทั้งสาร GABA ที่มีฤทธิ์ผ่อนคลายระบบประสาท และสาร N-Acetylserotonin ซึ่งจะถูกเปลี่ยนไปเป็นเมลาโทนินตามธรรมชาติ สารตัวนี้ยังพบฤทธิ์ต้านวิตกกังวลได้อีกด้วย
เคล็ดลับที่สำคัญอีกหนึ่งอย่าง คือ งดการเล่นจอมือถือ หรือทีวี อย่างน้อย 2-3 ชั่วโมง ก่อนเข้านอน เพราะมีงานวิจัยพบว่าแสงสีฟ้าจากหน้าจอ มีผลรบกวนการหลั่งฮอร์โมนเมลาโทนินได้
💥🍭บทความอื่นๆ
POSTED 2019.11.28
UPDATED 2020.12.28
โฆษณา