คำไทย

kumthail.th
  • การศึกษา
  • 1
  • 39
    โพสต์
  • 405
    ผู้ติดตาม
  • สร้างเพจเมื่อ 30 พ.ค. 2019
  • “สระ” ทำไมอ่านต่างกัน ?
    “สระแก้ว” อ่านว่า สะ-แก้ว
    “สระบุรี” อ่านว่า สะ-หฺระ-บุรี... อ่านต่อ
    • 6
    • วิธีนับเวลาแบบไทย
      เคยได้ยินคนรุ่นปู่ย่าตายาย ผู้สูงอายุ หรือเพื่อนเราบางคน เรียก ๑๐ นาฬิกา ว่า ๔ โมงเช้า หรือ ๑๑ นาฬิกาว่า ๕ โมงเช้า บ้างไหม ? หลายคนสงสัยว่าทำไมเรียกแบบนั้น วันนี้แอดมินขอมาเล่าเรื่องการ “วิธีนับเวลาตามประเพณี”... อ่านต่อ
      • 4
      • การเขียนแบบโบราณ
        พอดีมีคนมาถามว่า “...ทำไมป้ายตรงสะพานพุทธฯ เขียนแบบนี้ แล้วถูกหรือไม่...” ขอตอบว่า “...ถูกต้องแล้วจ้า...” เพราะในอดีตเราเขียนแบบนั้นจริง ๆ ซึ่งปัจจุบันไม่นิยมเขียนแล้ว ถ้าสนใจเข้าไปดูได้ที่เพจ อักษราร้อยวลีลิขิ... อ่านต่อ
        • 5
        • “ปิ้ง” และ “ย่าง” ต่างกันอย่างไร ?
          2
          หนึ่งในคำถามยอดฮิตเลยก็ว่าได้ สำหรับคำถาม เรื่อง “ปิ้ง” และ “ย่าง” ว่าต่างกันไหม เหมือนกันหรือเปล่า ใช้แทนกันได้ไหม ถ้าใช้อีกแบบจะผิดไหม ฯลฯ... อ่านต่อ
          2
          • 225
          • ✅ จัญไร
            ✅ จังไร
            มาจากภาษาเขมรว่า ចង្រៃ “จงฺไร” และคำว่า “จัญไร” เป็นคำที่ถูกบัญญัติขึ้นมา โดยแผลงมาจากคำว่า “จังไร” อีกทีหนึ่ง สามารถใช้ได้ทั้ง ๒ คำ มีคว... อ่านต่อ
            • 2
            • มีคนเข้ามาถามว่าคำนี้ (طالبان) สรุปเขียนแบบไหน “ตาลิบาน, ตาลีบาน, ตอลิบาน, ตอลีบาน” ในแต่ละสำนักข่าวสะกดไม่เหมือนกันเลย
              แอดมินเข้าใจว่า ทุกสำนักข่าวทับศัพท์มาจากภาษาอังกฤษอีกทีหนึ่ง จึงอาจจะไม่ได้เสียงที่ตรงกับภาษาต้นฉบับมากนัก ถ้าเอาตามหลักเกณฑ์การทับศัพท์ของ... อ่านต่อ
              • 4
              • ในสมัยโบราณ
                คำว่า “แพ้” เดิมหมายถึง “ชนะ” ส่วนคำว่า “พ่าย” หมายถึง “แพ้” ในอดีต “แพ้” และ “พ่าย” เป็นคำที่มีความหมายตรงข้ามกัน แต่ในปัจจุบันมีความหมายเดียวกัน บางครั้งใช้ว่า “พ่ายแพ้”... อ่านต่อ
                • 5
                • “วันหน้า” หรือ “วันหลัง”
                  คำว่า “วันหน้า” คือ วันที่จะมาถึงข้างหน้า
                  คำว่า “วันหลัง” คือ วันหลังจากวันนี้ไป... อ่านต่อ
                  • 4
                  • “ยี่สิบม้วนจำจงดี”
                    คำในภาษาไทยที่เป็นคำไทยแท้ ใช้สระ ใ ไม้ม้วน เพียง ๒๐ คำเท่านั้น นอกนั้นจะใช้สระ ไ ไม้มลาย...
                    • 2
                    • “พยัญชนะหัน” หรือ “อักษรหัน” ที่เกือบจะสูญพันธุ์
                      “อักษรหัน” เกือบจะหมดไปแล้วจากภาษาไทย แต่ในปัจจุบันยังมีอักษรหันที่ยังคงหลงเหลือเป็นมรดกมาจากอดีต คือ ร หัน (รร) ในตัวอย่างคำว่า สรรเพชญ จึงสะกดไม่ต่างกับปัจจุบัน... อ่านต่อ
                      • 2