ความคิดเห็นบนคำถาม

รับมืออย่างไร เมื่อต้องทำงานร่วมกับคนที่มีหลายอารมณ์ในวันเดียวกัน ?? 🥴
17 ม.ค. 2022 เวลา 14:26 • ความคิดเห็น • 9 คำตอบ
บางวันก็ยิ้มแฉ่ง บางวันก็เหมือนโกรธเรามาแต่ชาติปางก่อน😌
คำตอบ (9)
  • การร่วมงานกับใคร เราไม่สามารถเลือกได้ค่ะ เพราะเขาคือ เพื่อนร่วมงาน ที่เราจะต้องร่วมกันทำสิ่งที่พื้นที่นั้นมีเป้าหมาย แต่ถ้าเราเป็นแบบจริงจัง แล้วเขาไม่ใส่ใจ เล่นสนุก ก็ต้องสื่อสารตรง ถ้าเขาหงุดหงิด อารมณ์ไม่ดี ผีเข้าผีออก พยายามสนิทกับเขามากขึ้น อาจจะเข้าใจสาเหตุ ว่าเขามีทุกข์อะไ...
  • ถ้าอายุยังน้อยคงต้องทำใจนานหน่อย(เพราะพยายามจะปรับตัวเข้ากับเพื่อนร่วมงาน) แต่ถ้าทำงานมานานจะเข้าใจคะว่าคำว่า"ช่างแม้ง!!"ใช้ได้ดีกับที่ทำงานคะ ขอให้ทำงานในส่วนของเราให้ดีก็พอและไม่จำเป็นต้องอารมณ์ดีตลอดเวลากับคนแบบนี้เพราะเราก็มีอารมณ์ของเราเหมือนกัน เพราะบางคนยิ่งเฉยยิ่งได้ใจ
  • ทำงานในส่วนที่เราต้องรับผิดชอบ ถ้าเรารู้จักหน้าที่ของตัวเองแล้วทำให้ดีที่สุด ( สิ่งที่เราต้องทำความเข้าใจยอมรับก่อนว่า แม้แต่ตัวของเราเองบางครั้งยังไม่รู้ตัวในแต่ละวันอารมณ์ของเราออกมาในรูปแบบไหนจริงไหม???) ที่สุดของการอยู่ร่วมกับคนที่หลายอารมณ์คือถ้าเขาใช้อารมณ์กับเราก็ต้องด...
  • ไม่เห็นจะต้องเอาอารมณ์คนอื่นมาถ่วงชีวิตตัวเองเลย เป็นเราคือเฉยๆ ตอนร่าเริงเราก็คุยด้วยได้ ตอนเขาอารมณ์บูดเราก็ต่างคนต่างทำงาน เฉยๆกับเขาไป เขาอาจจะมีปัญหาอีกมากมายในหัวจนมันออกมาทางพฤติกรรม และเขาไม่ได้ฉลาดพอที่จะรู้วิธีควบคุมตัวเอง อย่าเอาอารมณ์บูดเขามาทำให้เราต้องอารมณ์เสียเลย�...
  • ไม่ต้องสนใจอารมณ์คนอื่นครับ เอาเนื้อหางานเป็นหลัก เราไม่สามารถจัดการหรือตามอารมณ์ทุกคนได้ แต่เราควบคุมอารมณ์และความรู้สึกของเราได้ ส่วนอารมณ์ของคนอื่นเค้าต้องรับผิดชอบต่ออารมณ์ของเค้าเองครับ ผมใช้วิธีการนี้มาตลอดไม่เครียดเลย ใครจะยังไงก้ชั่ง เอาเนื้อหางานเป็นหลัก ไม่นินทา ไม่พูดพ...
  • เฮียจะมองข้ามไอ้พวกนี้ มองเหมือนขี้หมาหรือกองขยะสักกอง...เอาเวลาไปโฟกัสที่งานดีกว่า มีอะไรจะต้องทำตั้งเยอะตั้งแยะ...เดี๋ยวงานไม่เสร็จจะมาเขี่ยบีดีไม่ทัน
  • บอกตัวเองว่า เราต้องไม่เป็นบ้าตามคนนี้นะคะ
    ต้องการจัดลำดับของงานค่ะ อย่าเต้นตามอารมณ์ของใคร ต้องใจเย็น หนักแน่น ดูเนื้องานเป็นหลัก ทำงานวนไปค่ะ และตอบทุกอย่างด้วยความสุภาพ อันนี้จะประสบผลสำเร็จดีค่ะ...
  • ถ้าคุณ “ยอม” ให้ “อารมณ์” ของผู้อื่น หรือแม้แต่กระทั่งอารมณ์ของคุณเอง มาเป็น “เงื่อนไข” ของ “ความสุขทุกข์” ผมมองว่านั่นคือ “ความพ่ายแพ้” ที่คุณหยิบยื่นให้ตัวเองครับ
    “จงอย่ายินดียินร้ายต่อสิ่งใด” นี่คือ “อำนาจ” ที่คุณหยิบยื่นให้ “ตัวเอง...
  • จริงๆถ้าเขาขรึมอย่างไปสุงสิงดีกว่าค่ะ ปล่อยเขาอยู่กับตัวเอง ถ้าวันไหนเขายิ้มแฉ่งค่อยคุยตลกๆด้วย