ความคิดเห็นบนคำถาม

การทำงานกับผู้คน หนีไม่พ้น Soft Side ว่าด้วยศาสตร์แห่งใจ "รู้ใจ", "อ่านใจ" และ "ซื้อใจ" คำถามคือ ควรใช้เมื่อใด ใช้กับใคร อะไรมีความเสี่ยงมากที่สุด, คุณตีความคำว่า "เสี่ยง" สำหรับคำถามนี้ว่าอย่างไร?
13 ส.ค. 2023 เวลา 04:21 • การศึกษา • 13 คำตอบ
คำตอบ (13)
  • สุดยอดคำตอบ
    สมมุติว่าเรามองในมุมมองของธรรมะ เราจะเรียกศาสตร์เหล่านี้ว่าอะไรดี ไม่รู้ทำไมคนไทยถึงชื่นชอบเรื่องพวกนี้ คือเน้นเรื่องอ่านใจซื้อใจ อันที่จริงเราน่าจะเน้นเรื่องความจริงใจ คือปากกับใจต้องตรงกัน ต้องเน้นเรื่องการทำงานมากกว่าที่จะเน้นเรื่องอ่านใจซื้อใจนะผมว่า คือศาสตร์พวกนี้ยิ่งเรียน...
  • จากประสบการณ์ส่วนตัวผม ผมผ่านคนมาหลายจำพวก ส่วนใหญ่คนที่คิดประเภทแนวนี้ จะเป็นจำพวกกลุ่มคนที่ค่อนข้างมีเงิน คนที่ร่ำรวย ซะเป็นส่วนใหญ่ เพราะสุดท้ายแล้วกลวิธีเหล่านี้ มันก็คือทำเพื่อประโยชน์สูงสุดของตัวเองเป็นสำคัญเท่านั้น ถ้าหากเราคิดให้มันลึกซึ้ง...
  • 👁👁
    1
  • ใช้ทุกเวลา ใช้กับทุกคนเลย มีความเสี่ยงตรง การบริหารความคิดของผู้ใช้ ต้องมีความเด็ดขาด ณ จุด ๆ นึง ในใจ โดยไร้เงื่อนไข เพื่อถอยหลังเสมอ ๆ
  • เราว่าเทคนิคเหล่านี้ ทำให้นึกถึงพวกไลฟ์โค้ชที่สอนใน YouTube สอนเทคนิคอ่านคน สอนให้คิดบวกพูดเพราะ สอนบุคลิก แต่ถ้าเกี่ยวกับเรื่อง รู้ใจ อ่านใจ ซื้อใจ เราคิดว่าสุดท้ายแล้วมันจะบูรณาการกลายเป็นสงครามประสาทไปซะมากกว่า...
  • ศาสตร์แห่ง"ใจ" เข้าใจ ใส่ใจ ไว้วางใจ เชื่อใจ
    ให้ใจ สอนใจ ให้โอกาส ให้ความรู้ความสามารถ
    ผ่านการพัฒนา น่าจะเป็นสิ่งที่ป้องกันความเสี่ยง
    ที่จะล้มเหลวในงาน ในทีมงานได้ระดับหนึ่ง...
  • คิดถึงคำว่าเลขาอ่ะ เราไม่ค่อยรู้เรื่องระบบองค์กรทำงานอะไร แต่อ่านแล้วนึกถึงเลขา
  • ตอนที่ผมทำงานเป็นหัวหน้าpc ของบริษัทแฟชั่นฟู้ด จริงๆแล้วเราไม่ควรทำตัวเป็นบ่อเกิดความเครียดให้กับลูกน้อง นี่คือวิธีง่ายๆที่มีประสิทธิภาพ แต่หลายคนเสือกเจ้ากี้เจ้าการ คืออบรมสัมมนามากเกินไปจนประสาทกิน คิดว่าตัวเองเป็นนักการเมือง คิดว่านี่คือละครสามก๊ก โอ้โห เสือกทำเรื่องง่ายให้เป็...
  • ความเสี่ยงคือลูกน้องรู้ทัน!!
    2
  • ผมจะไม่อ่านใจ รู้ใจ หรือซื้อใจลูกน้องเด็ดขาด เพราะการคิดว่าตัวเองเข้าใจคนอื่นแล้วนี่แหละ คือเสี่ยงที่สุด
    ทำไปในสิ่งที่ควรทำ ทำในสิ่งที่เป็นมาตรฐาน แล้วค่อยมาว่ากันก็พอแล้วครับ
    1