ความคิดเห็นบนคำถาม

เราสามารถ"หนีกรรม" ได้ไหมครับ ?
22 พ.ค. เวลา 02:49 • ปรัชญา • 14 คำตอบ
คำตอบ (14)
  • กรรมเป็นสัญญาหรือความจำได้หมายรู้ เกิดใหม่ทุกขณะจิตอยู่แล้ว และเป็นอาสวะที่พร้อมจะเกิดทุกขณะจิตเช่นกัน เมื่อไหร่ที่เรามีสติสัมปชัญญะหนาแน่นพอ ก็สามารถจะเห็นทันหรือญานะ ซึ่งมันเกิดขึ้นได้เองแล้วมันก็ดับไปเอง เพียงเรารู้ทันเขาก็จะวางไปเองเป็น เมื่อรู้ไม่ทันก็คิดว่าเป็นกรรมของเราเรา...
  • หนีเข้านิพพานได้ครับ
    ถ้าคิดว่านิพพานไม่ทันการทำมหากุศล ก็เป็นทางเลือกที่ดีนะ คล้ายๆเกลือหนึ่งช้อนโต๊ะ เติมในแก้วน้ำก็เค็ม แต่ถ้าเติมในแม่น้ำ เกลือเกือบจะไร้รสชาติ
  • สำหรับตัวผู้กระทำได้ซิครับ! แต่ต้องไม่ใช่การใช้พิธีกรรมใดๆ มีสิ่งเดียวที่ทำได้คือต้องใช้เวลาของชีวิตที่เหลืออยู่เพื่อสร้างบุญบารมีด้วยกาย วาจา และใจ สิ่งที่ใด้รับไม่สามารถหักล้างอดีตได้ก็จริง แต่คุณงามความดีที่กำลังทำอยู่จะปกป้องผู้กระทำในปัจจุบันจนถึงตลอดช่วงชีวิตที่เหลืออยู่ของ...
  • หนีไม่ได้ ทุกคนโดนตามล่าจากเจ้ากรรมนายเวร เขาจะขัดขวางไม่ให้เราเจริญเติบโต มั่งมีศรีสุข แล้วแต่การเจรจาต่อรองกัน จะลงโทษเต็ม หรือลดโทษ หรืออโหสิกรรมเพราะเราขอขมากรรม ตามที่ผู้ดูแลแผ่นดินให้ครูออกมาช่วยคนตามวิธีของข้างบน ท่านบอกว่านี่คือวิธีการที่ถูกต้อง แต่มนุษย์ไม่รู...
  • ได้เลย
    คนไม่มีสำนึกทำอย่างไรสำนึกก็ไม่เกิด
    ระบบที่ไม่สนองกรรม, สังคมที่ไม่สนองกรรม สมาชิกต้องระวังเอาเอง
  • เมื่อจะหนีกรรม เรารู้จักกรรมแล้วหรือยัง มันเป็นปัญหา แล้วก็ยังมีปัญหาต่อไปอีก เรารู้จักตัวเราเอง ที่เป็นนามธรรม ที่เค้าว่า จิตจุติลงมาเกิด สิ่งเล่านี้นั้น ก็เป็นปัญหาอยู่ ถามต่อไปอีกว่า ตัวเราแท้จริงนั้นเป็นอะไรกันแน่ ทำไมถึงไม่รู้จักตัวตนของเราเลย บ้างก็ว่า จิตเรานั้นมันเป็นป... อ่านต่อ
  • กรรมดี และ กรรมชั่ว ทั้งหมดเกิดจากตัวเราเอง
    ผลของกรรม อยู่ที่ตัวเราเองทั้งหมด อยู่ที่ตัวเราเอง
    เป็นคนกำหนดผลของกรรมทั้งหมด { หนีกรรม}
    ตัวเราเองที่กำหนด...
  • กรรมต้องชดใช้​ แต่ผ่อนหนักให้เป็นเบาได้​ หนีกรรมได้ต้องเข้านิพพาน​
  • ตามหลักศาสนา เราหนีไม่พ้น
    แต่ความเป็นจริงล่ะ ?
    มีคนชั่วร้าย ขี้โกงมากมายที่ยังลอยนวล
    มีความสุขไปได้อีกเจ็ดชั่วโคตร...
  • ถ้าตามหลักของพุทธศาสนา ตามคำสอนเท่าที่ผมพอเข้าใจอย่างผิวเผินนะครับ
    ทุกอย่างบนโลกนี้อยู่ภายใต้หลักเหตุและผลครับ เมื่อเหตุมันเกิด ผลมันก็ต้องเกิด และผลที่เกิดก็มีโอกาสที่จะเป็นเหตุอีกอย่างหนึ่ง ของผลที่จะตามมาอีก...